TRAVEL TOOLS

 

id7500003000070


 


 

大頭幣,Luang Pu Thuat,價值超過100萬,2500 B.E. 大頭幣,Luang Pu Thuat,價值超過100萬,2500 B.E.

 

Phra Luang Pu Thuat,鐵背後的Phra Luang Pu Thuat,1962年

Name of the image of Buddha: RIAN LUANG Pu That
Supporter of casting: Luang Pu Thuat
Location of Casting or Finding: Wat Chang Hai
Year of Casting: (B.E. 2505)
Praise of the image of Buddha: merciful Trading prosperity

Product: 000501

Price:00.00 Baht

鐵背後的Phra Luang Pu Thuat,1962年
提姆大師或 Phra Khru Wisai Sophon、長海寺、北大年和寺廟委員會於 1954 年創造了一個由 Wan Luang Pu Thuat 製成的護身符。完成看來來求功德的人很多。此外,護身符奇蹟的經歷已經發生並被廣泛講述,因此呼籲該團體。寺廟委員會建造了另一個龍普託的護身符。在 Khun Anan Kananurak 的筆記中,寫到要製作的護身符(與 wan 混合的土壤)不確定,但取決於必要性。例如,蒂姆大師和我認為適合在本月 16 日、17 日、18 日開光僧侶的是金屬鑄造護身符。事實上,我打算用老式粘土打印。但是蒂姆大師坐在路上,請求他的精神允許。他說,那些蘆薈土被破壞了,如果他們有足夠的資金用金屬建造它們,他們會很難過。因此,我們必須遵循
其中金屬的鑄造要求比舊的鑄造有更多的資本,那就是太子殿下。查勒姆波爾蒂坎蓬王子殿下或者太子在中間是讚助建設的主席。根據Phra Achan Tim的Luang Pu Tuad的許可石板和彌撒是從聖殿帶來的。在曼谷一起施法在將它送到阿贊薩瓦特德普莊之前,他先是用鐵鑄成的護身符,分為小、中、大三種尺寸:他還帶來了許多金屬。不管是金銀塊,都放進爐子裡,至於“帕努克面”的澆注,模具就一個一個地當鐵滴。不要使用像合金護身符一樣倒入花束或棺材中的方法。帕克林的字母后面還有一個圖案,後面會討論,意思是金屬鐵後面的龍普托。在這個時候創作的,分為大印,金混金屬,99號,大印,不到1000個護身符,以及大印,Nawaloha,以及成千上萬的合金,其餘的都是“中印”,印有。也是 Luang Pu Thuat 的郵票,信的背面版本,以及鈴鐺護身符。可以說,鐵背模型龍普託的護身符的建造是在寺廟外與通羅一起澆築的。寺廟是誦金儀式和“鋪石板金片”的地方,包括大的開光儀式,中太子將所有開光的石板拿走,然後在Khok Moo Temple或曼谷西塔蘭寺留在Wat Saket或一座小金山)
此次龍普托護身符的建造過程中,該寺與大佛龍普托像的慶祝儀式一起進行。後來被指定為Wat Chang的年度活動儀式舉行了3天3夜,即1962年5月16日星期三,農曆6月13日上午9時。第二天,1962 年 5 月 17 日星期四上午 9 點,根據迷信宣布儀式,並召喚龍普託的靈魂參加晚上 9 點的儀式。坐下來祈禱。Pisek 通宵和 1962 年 5 月 18 日星期五上午 9 點。 Visakha Bucha 以 1962 年 5 月 19 日星期六早上 6 點 Phra Ajarn Tim 的講道 1 可汗和最後一個可汗結束。派發龍普託的護身符作為吉祥的時刻有一點值得注意“Phra Luang Pu Thuat,金屬質地,2505 年”如下。 - 俗稱的鐵的背面。真相是蓮花花瓣,中間印,尖端是圓形的,另一種是尖的像鐵一樣 - 查勒姆波爾王子殿下他自己控制著金屬的澆注,先澆了九十九塊金子,再澆了吹雲,那是一種由鉛銅混合脆黑脆的金屬製成。後面是一個盆因為很脆,所以不需要太多的裝飾,澆不到1000塊以下的金屬,薩瓦特老師已經停止澆了。僧伽袈裟兩側有橫紋。不傾斜
此次龍普托護身符的建造過程中,該寺與大佛龍普托像的慶祝儀式一起進行。後來被指定為Wat Chang的年度活動儀式舉行了3天3夜,即1962年5月16日星期三,農曆6月13日上午9時。第二天,1962 年 5 月 17 日星期四上午 9 點,根據迷信宣布儀式,並召喚龍普託的靈魂參加晚上 9 點的儀式。坐下來祈禱。Pisek 通宵和 1962 年 5 月 18 日星期五上午 9 點。 Visakha Bucha 以 1962 年 5 月 19 日星期六早上 6 點 Phra Ajarn Tim 的講道 1 可汗和最後一個可汗結束。派發龍普託的護身符作為吉祥的時刻有一點值得注意“Phra Luang Pu Thuat,金屬質地,2505 年”如下。 - 俗稱的鐵的背面。真相是蓮花花瓣,中間印,尖端是圓形的,另一種是尖的像鐵一樣 - 查勒姆波爾王子殿下他自己控制著金屬的澆注,先澆了九十九塊金子,再澆了吹雲,那是一種由鉛銅混合脆黑脆的金屬製成。後面是一個盆因為很脆,所以不需要太多的裝飾,澆不到1000塊以下的金屬,薩瓦特老師已經停止澆了。僧伽袈裟兩側有橫紋。不偏不倚,這次建成的鐵塔背後的龍普托。變得非常流行它受到人們的廣泛追捧。 

พระหลวงปู่ทวดหลังเตารีด 2505
พระอาจารย์ทิม หรือพระครูวิสัย โสภณ วัดช้างให้ ปัตตานี และคณะกรรมการวัดได้จัดสร้างพระพิมพ์เนื้อว่านหลวงปู่ทวดปีพ.ศ.2497 สำเร็จลุล่วงแล้ว ปรากฏว่ามีผู้มาขอรับและร่วมบุญจำนวนมาก อีกทั้งประสบการณ์ปฏิหาริย์ขององค์พระเครื่องได้เกิดขึ้นเป็นที่เล่าขานกันไปทั่วจึงเกิดเสียงเรียกร้องให้คณะ กรรมการวัดจัดสร้างพระเครื่องหลวงปู่ทวดขึ้นอีก ในบันทึกของคุณอนันต์ คณานุรักษ์ เขียนไว้ว่า พระเครื่องที่จะสร้าง (ดินผสมว่าน) อีกหรือไม่นั้นยังไม่แน่แล้วแต่ความจำเป็น ซึ่งท่านอาจารย์ทิมและผมเห็นสมควร เช่น จะทำพิธีปลุกเสกพระในวันที่ 16, 17, 18 เดือนนี้นั้น เป็นพระเครื่องหล่อด้วยโลหะ ความจริงแล้วผมตั้งใจจะพิมพ์กับดินว่านแบบเก่า แต่ท่านอาจารย์ทิมนั่งทางในขออนุญาตต่อพระวิญญาณของท่าน ท่านบอกว่าดินว่านเหล่านั้นใช้แล้วแตกหักคงจะเสียใจหากมีกำลังทุนพอก็ให้สร้างด้วยโลหะ เราจึงต้องปฏิบัติตาม
ซึ่งในการหล่อเนื้อโลหะนั้นจำเป็นจะต้องมีทุนรอนมากกว่าการหล่อแบบเก่า ซึ่งก็ได้ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพรฯ หรือพระองค์ชายกลางทรงเป็นประธานอุปถัมภ์ในการจัดสร้าง ตามคำอนุญาตจากหลวงปู่ทวดผ่านพระอาจารย์ทิม มีการนำชนวนและมวลสารจากวัด นำไปหล่อพระร่วมกันที่กรุงเทพฯ ก่อนที่จะส่งไปให้อาจารย์สวัสดิ์ เดชพวง เป็นผู้หล่อ หล่อพระหลวงปู่หวดเนื้อโลหะหลังเตารีดขึ้น 3 ขนาด คือ เล็ก กลาง ใหญ่ และยังทรงนำโลหะหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นก้อนเงินและทองคำใส่ลงในเตาหลอม ส่วนการเท “พระเนื้อเมฆพัด” ได้ใช้แม่พิมพ์เป็นเหล็กหยอดทีละองค์ มิได้ใช้วิธีเทเป็นช่อหรือตลับอย่างพระเนื้อโลหะผสม นอกจากนี้ยังมีแบบหลังตัวหนังสือ พระกริ่ง ซึ่งจะพูดถึงในคราวหลัง หมายความว่า หลวงปู่ทวดหลังเตารีดเนื้อโลหะ ที่สร้างในคราวนี้แบ่งเป็น พิมพ์ใหญ่ เนื้อทองคําผสมโลหะ จำนวน 99 องค์ พิมพ์ใหญ่ พระเนื้อเมฆพัด จำนวนไม่ถึง 1,000 องค์ และพิมพ์ใหญ่ เนื้อนวโลหะ และเนื้อโลหะผสม อีก จำนวนหลายหมื่นองค์ ที่เหลือเป็น “พิมพ์กลาง" และพิมพ์เล็ก" นอกจากนี้ยังมีการปั๊มหลวงปู่ทวดรุ่นหลังตัว หนังสือ และพระกริ่งอีกด้วยดัง นั้นอาจกล่าวได้ว่าการสร้างพระเครื่องหลวงปู่ทวดรุ่นหลังเตารีดมีการเททองหล่อกันนอกวัด โดยวัดเป็นสถานที่ประกอบพิธีปลุกเสกเนื้อโลหะ และ ”การลงแผ่นทองชนวน" รวมถึงพิธีปลุกเสกใหญ่ซึ่งพระองค์ชายกลางได้นำโลหะชนวนทั้งหมดที่ปลุกเสกแล้วนั้นไปหล่อกันที่วัดคอกหมูหรือ วัดสิตารามกรุงเทพฯ อยู่เลยวัดสระเกศ หรือภูเขาทองไปเล็กน้อย)
ในการจัดสร้างพระเครื่องหลวงปู่ทวดครั้งนี้ทางวัดได้ดำเนินการพร้อมกับงานสมโภชรูปเหมือนหลวงปู่ทวดองค์ใหญ่ประจำวัด ซึ่งต่อมาได้กำหนดให้เป็นงานประจำปีของวัดช้างให้ไปด้วย พีธีดังกล่าวจัดขึ้นถึง 3 วัน 3คืน คือ วันพุธที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ .2505 ตรงกับวันขึ้น 13 ค่ำ เดือน 6 เวลา 9.00 น. อัญเชิญพระเครื่องหลวงปู่ทวดเข้าสู่โรงพิธีในพระอุโบสถ เพื่อให้พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ วันรุ่งขึ้น วันพฤหัสบดีที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.2505 เวลา 9.00 น. ทำพิธีประกาศโองการตามหลักไสยศาสตร์และอัญเชิญดวงจิตหลวงปู่ทวดเข้าประทับในพิธีเวลา 21.00 น. นั่งปรกและสวดพุทธาภิเษกไปตลอดทั้งคืน และวันศุกร์ที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2505 เวลา 9.00 น. กระทำประทักษิณเวียนเทียน วิสาขบูชาและปิดท้ายด้วยเทศนา 1 กัณฑ์ และสุดท้ายในวันเสาร์ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ.2505 เวลา 6.00 น. พระอาจารย์ทิม แจกพระเครื่องหลวงปู่ทวดเป็นปฐมฤกษ์ มีข้อน่าสังเกตเกี่ยวกับ "พระหลวงปู่ทวดเนื้อโลหะปี 2505" ดังนี้ - หลังเตารีดที่นิยมเรียกนั้น ความจริงเป็นกลีบบัว ในพิมพ์กลาง ปลายจะมน พิมพ์อื่นปลายแหลมเหมือนเตารีด - พระองค์เจ้าเฉลิมพลฯ ทรงควบคุมการเทโลหะด้วยพระองค์เองครั้งแรกทรงเทเนื้อทองคำ 99 องค์ ต่อมาเทเนื้อเมฆพัดซึ่งเป็นโลหะเกิดจากทองแดงผสมตะกั่วซัดด้วยกำมะกันสีออกดำมันวาวเปราะ ด้านหลังเป็นแอ่ง เนื่องจากเปราะจึงไม่นำมาเจียนแต่งมากนัก เทได้ไม่ถึง 1,000 องค์โลหะหมด อาจารย์สวัสดิ์เลยให้หยุดเท เส้นข้างสังฆาฏิจะมีริ้วจีวรในแนวนอนเป็นบั้งๆ ไม่ป็นแนวเฉียง
ในการจัดสร้างพระเครื่องหลวงปู่ทวดครั้งนี้ทางวัดได้ดำเนินการพร้อมกับงานสมโภชรูปเหมือนหลวงปู่ทวดองค์ใหญ่ประจำวัด ซึ่งต่อมาได้กำหนดให้เป็นงานประจำปีของวัดช้างให้ไปด้วย พีธีดังกล่าวจัดขึ้นถึง 3 วัน 3คืน คือ วันพุธที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ .2505 ตรงกับวันขึ้น 13 ค่ำ เดือน 6 เวลา 9.00 น. อัญเชิญพระเครื่องหลวงปู่ทวดเข้าสู่โรงพิธีในพระอุโบสถ เพื่อให้พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ วันรุ่งขึ้น วันพฤหัสบดีที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.2505 เวลา 9.00 น. ทำพิธีประกาศโองการตามหลักไสยศาสตร์และอัญเชิญดวงจิตหลวงปู่ทวดเข้าประทับในพิธีเวลา 21.00 น. นั่งปรกและสวดพุทธาภิเษกไปตลอดทั้งคืน และวันศุกร์ที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2505 เวลา 9.00 น. กระทำประทักษิณเวียนเทียน วิสาขบูชาและปิดท้ายด้วยเทศนา 1 กัณฑ์ และสุดท้ายในวันเสาร์ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ.2505 เวลา 6.00 น. พระอาจารย์ทิม แจกพระเครื่องหลวงปู่ทวดเป็นปฐมฤกษ์ มีข้อน่าสังเกตเกี่ยวกับ "พระหลวงปู่ทวดเนื้อโลหะปี 2505" ดังนี้ - หลังเตารีดที่นิยมเรียกนั้น ความจริงเป็นกลีบบัว ในพิมพ์กลาง ปลายจะมน พิมพ์อื่นปลายแหลมเหมือนเตารีด - พระองค์เจ้าเฉลิมพลฯ ทรงควบคุมการเทโลหะด้วยพระองค์เองครั้งแรกทรงเทเนื้อทองคำ 99 องค์ ต่อมาเทเนื้อเมฆพัดซึ่งเป็นโลหะเกิดจากทองแดงผสมตะกั่วซัดด้วยกำมะกันสีออกดำมันวาวเปราะ ด้านหลังเป็นแอ่ง เนื่องจากเปราะจึงไม่นำมาเจียนแต่งมากนัก เทได้ไม่ถึง 1,000 องค์โลหะหมด อาจารย์สวัสดิ์เลยให้หยุดเท เส้นข้างสังฆาฏิจะมีริ้วจีวรในแนวนอนเป็นบั้งๆ ไม่ป็นแนวเฉียงหลวงปู่ทวดหลังเตารีดที่สร้างขึ้นในครั้งนี้ ได้รับความนิยมอย่างมากกลาย เป็นที่แสวงหาของประชาชนอย่างกว้างขวาง

 

 
THAILAND AMULET CENTER |CHIANGMAI OFFICE
211/45 the City Villa, Soi Ladprao 126
Ladprao Rd, Kwang Prapla,Wang Thong Lang district
Bangkok 10310 Mobile :66-093-3361995     e-mail:amuletcenter@hotmail.com
พระเครื่องเมืองสยาม| โดย พร บางระจัน:
236/2 หมู่ 5 ,ถนน เชียงใหม่ ลำพูน ,ตำบลยางเนิ้ง,อำเภิสารภี จังหวัดเชียงใหม่ 50140
Tel: 66-053-963029,66-093-3361995  Fax : 66-53-963029
Mobile : 66-093-3361995   e-mail:amuletcenter@hotmail.com
Copyright © 2006 Thailand Amulet Center. Website Terms of Use   |   Privacy Statement Find us on Youtube Facebook