TRAVEL TOOLS

 

id7500003000070


 


 

 

LP NAK - PHRA PIDTA
龙婆纳 - 四手大头必达掩面佛 - $0

龙婆纳 - 四手大头必达掩面佛
LP NAK - PHRA PIDTA

WAT HUAY JORAKE, NAKHON PATHOM PROVINCE 
鳄鱼潭寺,佛统府

LP YANTED BOTH FRONT AND BACK OF THE PIDTA PERSONALLY.
必达佛的前后都有师父亲手雕刻的经文。

ALREADY FRAMED WITH ELEGANT PURE SILVER GEMSTONES WATERPROOF CASING.
已经镶好了高雅漂亮的纯银宝石片防水壳。

* NO RESERVATION, DEAL CLOSE UPON SUCCESSFUL TRANSFERRING OF FUND. 1ST COME 1ST SERVED. 
** PRICING ARE NON-NEGOTIABLE
*** ADD $5.00 FOR LOCAL (SINGAPORE) REGISTERED MAIL (EXCLUDE BUCHAN). OVERSEA POSTAGE ARE TO BE ADVISED.
**** STRICTLY BY MEANT OF REGISTERED POSTAGE ONLY. PANALAI WILL NOT BE RESPONSIBLE FOR LOST OF POSTAGE SHOULD BUYER INSISTED IN USING NORMAL POST.
***** 100% AUTHENTICA, PANALAI WILL GUARANTEE A 100% FULL REFUND IF BUYER ARE ABLE TO PROVIDE EVIDENCE TO PROVE THAT THE AMULETS/BUCHA/TARKUT RENTED FROM PANSLAI ARE OF FAKE PRODUCT.****** ALL PROPOSED TRADING ARE NOT WELCOME
*无预留,帕纳莱只会处理成功转账的付款者,先到现得。
**定价,不可商议
***本地(新加坡)邮寄请加$ 5.00挂号费 (不包括佛像),国外邮费另计。
****无面交,全以邮寄的方式处理。
***** 如果买家可以证明向帕纳莱所请到的是假的护身符/佛牌/佛像/佛宝,帕纳莱将会100%全额退款。
****** 帕纳莱绝不会考虑,也不会接受以物换物的提议。

Price : 13,043.00$sin

whats app:0933361995

 

พระปิดตา มหาอุต  หลวงพ่อนาค วัดห้วยจรเข้ นครปฐม

รหัสสินค้า: 000065

ราคา: 300,000.00 บาท

 

รายละเอียด:

"พระปิดตาหลวงปู่นาค วัดห้วยจระเข้ นครปฐม พระเกจิอาจารย์จอมขมังเวทย์ยุคเก่าที่มีชื่อเสียงมากที่สุดเบอร์หนึ่งของเมืองนครปฐม หลวงปู่นาคท่านเป็นผู้สร้างและเป็นเจ้าอาวาสองค์แรกของวัดห้วยจระเข้ นอกจากนี้ในปี 2432 สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ยังได้ทรงแต่งตั้งให้ท่านเป็นพระครูปัจฉิมทิศบริหาร รักษาองค์พระปฐมเจดีย์ประจำด้านทิศตะวันตก และดำรงตำแหน่งรองเจ้าคณะมณฑลนครชัยศรี พระปิดตาของหลวงปู่นาคถูกจัดให้อยู่ในชุดเบญจภาคีพระปิดตาเนื้อโลหะ และนับเป็นพระปิดตาเนื้อเมฆพัตรอันดับ 1 ของเมืองไทย โดยพระปิดตาของท่านหายากมากจนในอดีตเจ้าของพระสมเด็จวัดระฆังจะขอแลกกับพระปิดตาวัดห้วยจะต้องแถมที่นาอีก 1 ไร่ องค์นี้เป็นพิมพ์ใหญ่สะดือจุ่น สภาพสวยแชมป์ เต็มร้อย เก่าเก็บ เนื้อจัดมัน จารเต็ม ไม่ผ่านการใช้ใดๆทั้งสิ้น ลงอยู่ในหนังสือสุดยอดพระปิดตาเมืองสยาม ติดรางวัลที่1 งานเสือที่แจ้งวัฒนะ เป็นเกียรติอย่างยิ่งครับ

 

 

ประวัติวัดห้วยจระเข้

ตั้งอยู่เลขที่ 447 ถนนพิพิธประสาท ด้านหน้าวัดใกล้คลองเจดีย์บูชา ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม เดิมมีชื่อวัดว่า วัดนาคโชติการาม ต่อมาเปลี่ยนเป็น วัดใหม่ห้วยจระเข้ ปัจจุบันได้ชื่อเป็นทางการว่า วัดห้วยจระเข้ เจ้าอาวาสรูปแรกของวัดคือ หลวงปู่นาค โชติโก (พระครูปัจฉิมทิศบริหาร) ท่านเป็นผู้สร้างวัดนี้ให้เป็นวัดบริวารขององค์พระปฐมเจดีย์ตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 หลวงปู่นาค โชติโก เกิดปี พ.ศ. 2358 (ร.ศ.35) ตรงกับปีกุน จ.ศ. 1177 ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 อุปสมบทเมื่ออายุ 21 ปี ณ พัทธสีมา วัดพระปฐมเจดีย์ ตรงกับปี พ.ศ. 2379 พระอุปัชฌาจารย์ไม่ปรากฏนาม ทราบแต่พระกรรมวาจาจารย์คือ พระเดชพระคุณ ท่านเจ้าคุณพระปฐมเจติยานุรักษ์ (หลวงปู่กล่ำ) เจ้าอาวาสวัดพระปฐมเจดีย์ เจ้าคณะจังหวัดนครปฐม ได้รับฉายา "โชติโก"อุปสมบทเป็น

พระภิกษุแล้วจำพรรษาอยู่วัดพระปฐมเจดีย์กับหลวงปู่กล่ำ เจ้าอาวาสทั้งสองเป็นสหธรรมิก มีความสนิทสนมกันดี หลวงปู่กล่ำเป็นเจ้าอาวาส ต่อมาหลวงปู่นาคเป็นรองเจ้าอาวาส ช่วยกันทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาด้วยดีตลอดมา ปี พ.ศ. 2432 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ทรงโปรดฯแต่งตั้งพระเถระ 4 รูป เพื่อทำหน้าที่รักษาองค์พระปฐมเจดีย์ทั้ง 4 ทิศ1.  พระครูปริมานุรักษ์ (นวม พรหมโชติ) วัดสรรเพชร รักษาด้านทิศตะวันออก2.  พระครูทักษิณานุกิจ (แจ้ง ธมมส้z� ��0B� �� ��มนิยมมากที่สุด ได้แก่ พิมพ์ท้องแฟบ  พิมพ์ท้องป่อง  และพิมพ์หูกระต่าย

 

จะไปจารที่จะไปจารที่กลางทุ่งนา หรือในป่าริมคลองที่มีปูอาศัยอยู่มากๆ เมื่อไปถึง และหารูปูเจอแล้ว ท่านก็จะยืนโดยเอาหัวแม่เท้าขวาอุดที่ปากรูปู จากนั้นก็จะกำหนดจิตบริกรรมคาถา และลงเหล็กจารไปพร้อมๆ กัน ขณะนั้นทั่วทั้งทุ่ง และป่าริมคลองนั้นจะเงียบสงัดทันที เสียงนก หรือแมลงร้องจะไม่มีได้ยิน สัตว์ทุกตัวที่อยู่บริเวณนั้นจะหยุดนิ่งชะงักเป็นจังงังกันหมด เมื่อท่านผ่อนคลายกำหนดจิตจากการลงอักขระเสร็จแล้วนั่นแหละ ทุกอย่างจึงจะกลับเข้าสู่ภาวะปกติ ก่อนที่จะกลับหลวงปู่นาคท่านจะทำน้ำมนต์รดที่รูปูนั้นเพื่อเป็นการคลายอาคม หากมิเช่นนั้นปูที่อยู่ในรูจะออกมาไม่ได้ หรือถ้าปูอยู่ข้างนอกก็จะกลับลงรูไม่ได้เหมือนกันอักขระที่ท่านใช้คือ "นะคงคา" เป็นตัวหลัก เพราะหลวงปู่นาคสำเร็จ อาโปกสิน วัตถุมงคลที่ท่านปลุกเสกจึงหนักไปทางพลังเย็นเร้นเข้มขลังอย่างเอกอุ จากพิธีกรรมการสร้างอันเข้มขลังนี้เอง จึงทำให้พระปิดตาห้วยจระเข้เป็นจักรพรรดิของพระปิดตาเนื้อเมฆพัดทั้งปวง แต่พระปิดตาห้วยจระเข้ไม่ใช่มีแต่เฉพาะเนื้อเมฆพัดชนิดเดียว แต่ได้มีชนิดที่สร้างด้วย "เนื้อชิน" อีกด้วย ซึ่งพระปิดตาห้วยจระเข้เนื้อชินเป็นแบบ "ชินตะกั่ว" โดย

หลวงปู่นาคท่านนำเอาแผ่นตะกั่วมาลงอักขระแล้วหลอมเทเป็นพระปิดตา และลงเหล็กจารด้วยกรรมวิธีการเช่นเดียวกับพระปิดตาเนื้อเมฆพัด กล่าวถึงพระปิดตาห้วยจระเข้เนื้อชินตะกั่วนี้ก็มีการสร้างในยุคแรกๆ เป็นพระปิดตาที่หลวงปู่นาคท่านสร้างขึ้นก่อนที่ท่านจะสร้างเนื้อเมฆพัดได้สำเร็จ แต่ในการเล่นหาพระปิดตาห้วยจระเข้เนื้อชินตะกั่วจะถูกกว่าเนื้อเมฆพัด พ.ศ. 2441 หลวงปู่นาค โชติโก ได้ย้ายจากวัดพระปฐมเจดีย์ มาสร้างวัดห้วยจระเข้ เพื่อให้เป็นวัดบริวารขององค์พระปฐมเจดีย์ ตามพระราชดำริของ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ซึ่งพื้นที่บริเวณนั้นเป็นป่ารก มีสัตว์ป่าชุกชุม ลำห้วยมีจระเข้มาก ริมคลองเจดีย์บูชา อันเป็นคลองประวัติศาสตร์ที่ทรงโปรดฯให้ขุดขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2407 เพื่อเชื่อมต่อกับแม่น้ำนครชัยศรี ให้เป็นเส้นทางเสด็จมานมัสการองค์พระปฐมเจดีย์ทางชลมารค หลวงปู่นาคใช้เวลา 3 ปี จึงสร้างวัดสำเร็จ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา โดย สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ทรงลงพระปรมาภิไธยด้วยพระองค์เอง เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2443 โดยให้ชื่อว่า "วัดห้วยจระเข้"หลวงปู่นาค จัดเป็นพระปรมาจารย์เมืองนครปฐมในสมัยแรก เป็นต้นตำรับพระปิดตาเนื้อเมฆพัด พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 และกรมพระยาดำรงราชานุภาพ เมื่อคราวเสด็จประพาสพักแรม ณ พระราชวังสนามจันทร์ จะต้องเสด็จแวะกราบนมัสการหลวงปู่นาคเป็นประจำ และหลวงปู่นาคได้มอบพระปิดตาทั้งสองพระองค์

ไว้บูชาคู่พระวรกายด้วยหลวงปู่นาค โชติโกไ ด้เป็นผู้สร้างวัดห้วยจระเข้ร่วมกับประชาชน ปกครองวัดมานาน 11 ปี ถึงกาลละสังขารเมื่อปี พ.ศ. 2453 ด้วยโรคชรา รวมอายุได้ 95 ปี 74 พรรษา ก่อนที่หลวงปู่นาคท่านจะมรณภาพ ก็ได้ถ่ายทอดวิชาการสร้างพระปิดตาให้กับ "หลวงปู่ศุข" ลูกศิษย์ซึ่งต่อมาหลวงปู่ศุขท่านก็ได้เป็นเจ้าอาวาสวัดห้วยจระเข้ต่อจากหลวงปู่นาค หลวงปู่ศุขท่านนี้ก็เป็นพระเกจิอาจารย์ของเมืองนครปฐมที่มีชื่อเสียงรุ่นราวคราวเดียวกับ "หลวงพ่อแช่ม วัดตาก้อง" และ "หลวงพ่อน้อย วัดธรรมศาลา" ที่มีคนนับถือมากเช่นกัน หลวงปู่ศุขท่านสร้างพระปิดตาเนื้อเมฆพัดพิมพ์แบบเดียวกับหลวงปู่นาคทุกอย่าง เพียงแต่ท่านไม่ได้ลงเหล็กจารเพื่อให้มีความแตกต่างไม่เป็นการวัดรอยกลางทุ่งนา หรือในป่าริมคลองที่มีปูอาศัยอยู่มากๆ เมื่อไปถึง และหารูปูเจอแล้ว ท่านก็จะยืนโดยเอาหัวแม่เท้าขวาอุดที่ปากรูปู จากนั้นก็จะกำหนดจิตบริกรรมคาถา และลงเหล็กจารไปพร้อมๆ กัน ขณะนั้นทั่วทั้งทุ่ง และป่าริมคลองนั้นจะเงียบสงัดทันที เสียงนก หรือแมลงร้องจะไม่มีได้ยิน สัตว์ทุกตัวที่อยู่บริเวณนั้นจะหยุดนิ่งชะงักเป็นจังงังกันหมด เมื่อท่านผ่อนคลายกำหนดจิตจากการลงอักขระเสร็จแล้วนั่นแหละ ทุกอย่างจึงจะกลับเข้าสู่ภาวะปกติ ก่อนที่จะกลับหลวงปู่นาคท่านจะทำน้ำมนต์รดที่รูปูนั้นเพื่อเป็นการคลายอาคม หากมิเช่นนั้นปูที่อยู่ในรูจะออกมาไม่ได้ หรือถ้าปูอยู่ข้างนอกก็จะกลับลงรูไม่ได้เหมือนกันอักขระที่ท่านใช้คือ "นะคงคา" เป็นตัวหลัก เพราะหลวงปู่นาคสำเร็จ อาโปกสิน วัตถุมงคลที่ท่านปลุกเสกจึงหนักไปทางพลังเย็นเร้นเข้มขลังอย่างเอกอุ จากพิธีกรรมการสร้างอันเข้มขลังนี้เอง จึงทำให้พระปิดตาห้วยจระเข้เป็นจักรพรรดิของพระปิดตาเนื้อเมฆพัดทั้งปวง แต่พระปิดตาห้วยจระเข้ไม่ใช่มีแต่เฉพาะเนื้อเมฆพัดชนิดเดียว แต่ได้มีชนิดที่สร้างด้วย "เนื้อชิน" อีกด้วย ซึ่งพระปิดตาห้วยจระเข้เนื้อชินเป็นแบบ "ชินตะกั่ว" โดย

 

โร) วัดศิลามูล รักษาด้านทิศใต้3.  พระครูปัจฉิมทิศบริหาร (นาค โชติโก) วัดห้วยจระเข้ รักษาด้านทิศตะวันตก4.  พระครูอุตตรการบดี (ทา) วัดพะเนียงแตก รักษาด้านทิศเหนือหลวงปู่นาค ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ที่ พระครูปัจฉิมทิศบริหาร ทำหน้าที่รักษาองค์พระปฐมเจดีย์ด้านทิศตะวันตก และยังดำรงตำแหน่งรองเจ้าคณะมณฑลนครชัยศรี ถ้าเปรียบสมัยนี้เท่ากับรองเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม  
ข้อมูลประวัติ

                เกิด                         ประมาณ ปี พ.ศ.2358

                อุปสมบท               ณ วัพพระปฐมเจดีย์

                มรณภาพ               ปี พ.ศ.2452

                รวมสิริอายุ            94 ปี

หลวงปู่นาค สร้างพระปิดตามหาอุตม์ เนื้อเมฆพัด เมื่อ พ.ศ. 2432 ซึ่งเป็นปีเดียวกับที่หลวงปู่นาคได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ หลวงปู่นาคท่านเป็นพระเกจิอาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านการสร้างเนื้อเมฆพัดมาก การผสมเนื้อแร่ต่างๆ การปั้นพิมพ์ และการเทหล่อองค์พระท่านทำด้วยตัวท่านเอง องค์พระที่ท่านหล่อออกมาสวยงาม ไม่มีรอยตะเข็บ ไม่เป็นฟองอากาศ เนื้อพระเป็นสีดำอมเขียว สีดำเงาคล้ายปีกแมลงทับ สวยงามพิสดาร เนื้อพระผิวตึง สมบูรณ์แบบด้านรูปทรง ว่ากันว่า "หลวงปู่นาค" กับ"หลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว" มีความสนิทสนมกัน เป็นสหธรรมิกรุ่นน้อง(หลวงปู่นาค มีอายุมากกว่าหลวงปู่บุญ 35 ปี) และมีการแลกเปลี่ยนวิชาซึ่งกันและกันด้วย โดยหลวงปู่บุญขอเรียนวิชาการสร้างเนื้อเมฆพัดไปจากหลวงปู่นาคส่วนหลวงปู่นาคก็ได้ขอเรียนวิชาอื่นจากหลวงปู่บุญไปเป็นการแลกเปลี่ยน สำหรับหลวงปู่บุญท่านได้ก็สร้างพระเนื้อเมฆพัดขึ้นจำนวน

หนึ่ง ซึ่งพระเนื้อเมฆพัดของหลวงปู่บุญที่ท่านสร้างเองลักษณะเนื้อจะเหมือนๆ ของหลวงปู่นาคมากผิดกับเนื้อเมฆพัดพิมพ์กลีบบัว และพิมพ์ปิดตาที่วางตามสนามทั่วๆ ไป ซึ่งเป็นพระที่สั่งทำจากโรงงานมาปลุกเสกทีหลังในการสร้างพระปิดตาของหลวงปู่นาคท่านสร้างหลายครั้งด้วยกัน สร้างไปเรื่อยๆตามแต่จะมีโอกาส พระปิดตาของท่านจึงมีประมาณ 4-5 พิมพ์ นับแล้วพระปิดตาห้วยจระเข้ก็มีอายุร่วมๆ หนึ่งร้อยปีเห็นจะได้เอกลักษณ์ของพระปิดตาห้วยจระเข้นอกจากจะดูพิมพ์เป็นหลักแล้ว พระปิดตาห้วยจระเข้จะต้องมีการลงเหล็กจารทุกองค์ด้วย ในการลงเหล็กจารนั้นมีเรื่องเล่ากันว่าหลวงปู่นาคท่านนำเอาพระปิดตาที่สร้างเสร็จแล้วไปลงเหล็กจารที่ท่าน้ำข้างๆ วัด โดยท่านจะนำลงไปจารอักขระใต้น้ำ เมื่อจารเสร็จแล้วก็จะปล่อยให้พระปิดตาลอยขึ้นมาเหนือน้ำเองโดยมีลูกศิษย์ที่อยู่บนฝั่งคอยเก็บ ถ้าพระปิดตาองค์ไหนลงจารแล้วไม่ลอยน้ำขึ้นมา แสดงว่าพระปิดตาองค์นั้นไม่มีพลังพุทธคุณ อันอาจจะเกิดอักขระวิบัติจากการจารอักขระก็ได้การที่พระเกจิอาจารย์ท่านใดสามารถดำลงไปทำวัตถุมงคลใต้น้ำได้นานๆ แบบนี้ ก็แสดงว่าพระเกจิอาจารย์ท่านนั้น

สำเร็จวิชากสิณที่สามารถแปลงธาตุน้ำให้เป็นช่องว่างมีอากาศหายใจได้ นอกจากการจรอักขระพระปิดตาใต้น้ำแล้ว หลวงปู่นาคท่านก็มีวิธีการจารอักขระอีกวิธีหนึ่งคือ ท่านจะไปจารที่กลางทุ่งนา หรือในป่าริมคลองที่มีปูอาศัยอยู่มากๆ เมื่อไปถึง และหารูปูเจอแล้ว ท่านก็จะยืนโดยเอาหัวแม่เท้าขวาอุดที่ปากรูปู จากนั้นก็จะกำหนดจิตบริกรรมคาถา และลงเหล็กจารไปพร้อมๆ กัน ขณะนั้นทั่วทั้งทุ่ง และป่าริมคลองนั้นจะเงียบสงัดทันที เสียงนก หรือแมลงร้องจะไม่มีได้ยิน สัตว์ทุกตัวที่อยู่บริเวณนั้นจะหยุดนิ่งชะงักเป็นจังงังกันหมด เมื่อท่านผ่อนคลายกำหนดจิตจากการลงอักขระเสร็จแล้วนั่นแหละ ทุกอย่างจึงจะกลับเข้าสู่ภาวะปกติ ก่อนที่จะกลับหลวงปู่นาคท่านจะทำน้ำมนต์รดที่รูปูนั้นเพื่อเป็นการคลายอาคม หากมิเช่นนั้นปูที่อยู่ในรูจะออกมาไม่ได้ หรือถ้าปูอยู่ข้างนอกก็จะกลับลงรูไม่ได้เหมือนกันอักขระที่ท่านใช้คือ "นะคงคา" เป็นตัวหลัก เพราะหลวงปู่นาคสำเร็จ อาโปกสิน วัตถุมงคลที่ท่านปลุกเสกจึงหนักไปทางพลังเย็นเร้นเข้มขลังอย่างเอกอุ จากพิธีกรรมการสร้างอันเข้มขลังนี้เอง จึงทำให้พระปิดตาห้วยจระเข้เป็นจักรพรรดิของพระปิดตาเนื้อเมฆพัดทั้งปวง แต่พระปิดตาห้วยจระเข้ไม่ใช่มีแต่เฉพาะเนื้อเมฆพัดชนิดเดียว แต่ได้มีชนิดที่สร้างด้วย "เนื้อชิน" อีกด้วย ซึ่งพระปิดตาห้วยจระเข้เนื้อชินเป็นแบบ "ชินตะกั่ว" โดย

หลวงปู่นาคท่านนำเอาแผ่นตะกั่วมาลงอักขระแล้วหลอมเทเป็นพระปิดตา และลงเหล็กจารด้วยกรรมวิธีการเช่นเดียวกับพระปิดตาเนื้อเมฆพัด กล่าวถึงพระปิดตาห้วยจระเข้เนื้อชินตะกั่วนี้ก็มีการสร้างในยุคแรกๆ เป็นพระปิดตาที่หลวงปู่นาคท่านสร้างขึ้นก่อนที่ท่านจะสร้างเนื้อเมฆพัดได้สำเร็จ แต่ในการเล่นหาพระปิดตาห้วยจระเข้เนื้อชินตะกั่วจะถูกกว่าเนื้อเมฆพัด พ.ศ. 2441 หลวงปู่นาค โชติโก ได้ย้ายจากวัดพระปฐมเจดีย์ มาสร้างวัดห้วยจระเข้ เพื่อให้เป็นวัดบริวารขององค์พระปฐมเจดีย์ ตามพระราชดำริของ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ซึ่งพื้นที่บริเวณนั้นเป็นป่ารก มีสัตว์ป่าชุกชุม ลำห้วยมีจระเข้มาก ริมคลองเจดีย์บูชา อันเป็นคลองประวัติศาสตร์ที่ทรงโปรดฯให้ขุดขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2407 เพื่อเชื่อมต่อกับแม่น้ำนครชัยศรี ให้เป็นเส้นทางเสด็จมานมัสการองค์พระปฐมเจดีย์ทางชลมารค หลวงปู่นาคใช้เวลา 3 ปี จึงสร้างวัดสำเร็จ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา โดย สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ทรงลงพระปรมาภิไธยด้วยพระองค์เอง เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2443 โดยให้ชื่อว่า "วัดห้วยจระเข้"หลวงปู่นาค จัดเป็นพระปรมาจารย์เมืองนครปฐมในสมัยแรก เป็นต้นตำรับพระปิดตาเนื้อเมฆพัด พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 และกรมพระยาดำรงราชานุภาพ เมื่อคราวเสด็จประพาสพักแรม ณ พระราชวังสนามจันทร์ จะต้องเสด็จแวะกราบนมัสการหลวงปู่นาคเป็นประจำ และหลวงปู่นาคได้มอบพระปิดตาทั้งสองพระองค์

ไว้บูชาคู่พระวรกายด้วยหลวงปู่นาค โชติโกไ ด้เป็นผู้สร้างวัดห้วยจระเข้ร่วมกับประชาชน ปกครองวัดมานาน 11 ปี ถึงกาลละสังขารเมื่อปี พ.ศ. 2453 ด้วยโรคชรา รวมอายุได้ 95 ปี 74 พรรษา ก่อนที่หลวงปู่นาคท่านจะมรณภาพ ก็ได้ถ่ายทอดวิชาการสร้างพระปิดตาให้กับ "หลวงปู่ศุข" ลูกศิษย์ซึ่งต่อมาหลวงปู่ศุขท่านก็ได้เป็นเจ้าอาวาสวัดห้วยจระเข้ต่อจากหลวงปู่นาค หลวงปู่ศุขท่านนี้ก็เป็นพระเกจิอาจารย์ของเมืองนครปฐมที่มีชื่อเสียงรุ่นราวคราวเดียวกับ "หลวงพ่อแช่ม วัดตาก้อง" และ "หลวงพ่อน้อย วัดธรรมศาลา" ที่มีคนนับถือมากเช่นกัน หลวงปู่ศุขท่านสร้างพระปิดตาเนื้อเมฆพัดพิมพ์แบบเดียวกับหลวงปู่นาคทุกอย่าง เพียงแต่ท่านไม่ได้ลงเหล็กจารเพื่อให้มีความแตกต่างไม่เป็นการวัดรอย

เท้าอาจารย์ แต่ก็มีบ้างอยู่เหมือนกันที่มีการเอาพระปิดตาหลวงปู่ศุขมาลงเหล็กจารแล้วหลอกขายเป็นของหลวงปู่นาคเพื่อให้ได้ราคาสูง จึงควรพิจารณารอยเหล็กจารว่าต้องมีความเก่า ถ้าเป็นรอยจารใหม่แต่เป็นพิมพ์เดียวกันก็แสดงว่าเป็นของลูกศิษย์แน่ครับปัจจุบันพระปิดตาห้วยจระเข้กลายเป็นพระปิดตาที่หายากอีกสำนักหนึ่งของวงการ ราคาก็มีการเล่นหาสูงตั้งแต่หลักหมื่นอ่อนๆ ถึงหลักหมื่นกลางๆ จนเลยถึงหลักแสนไปแล้วก็มี แต่ของเก๊ก็เพียบเหมือนกันการ์ดไม่สูงโดนเหมือนกันหมด  



 

วัตถุมงคลที่ได้รับความนิยม

                พระปิดตาเนื้อเมฆพัตรของท่าน  เป็นหนึ่งในเบญจภาคีพระปิดตา เนื้อโลหะ  สร้างประมาณปี 2432-2435  พระปิดตาของหลวงปู่นาคมีทั้งหมด 5 พิมพ์  แต่พิมพ์ที่ได้รับความนิยมมากที่สุด ได้แก่ พิมพ์ท้องแฟบ  พิมพ์ท้องป่อง  และพิมพ์หูกระต่าย

วัดห้วยจระเข้ จังหวัดนครปฐม

 

   วัดห้วยจระเข้ จังหวัดนครปฐมในทางวิชาการนั้น การลงพื้นสี เช่น สีดำลงบนวัตถุที่สลักลายวัตถุนั้นจะเป็นสีทอง หรือสีเงิน ทางยุโรปเรียกกันว่า ทูลาซิลเวอร์ (Tula Silver) แต่ทูลาซิลเวอร์จะออกเป็นสีเขียวๆ คล้ายปีกแมลงทับหรือที่เราเรียก กันว่า "เมฆพัด" เมฆพัด เป็นส่วนผสมของโลหะ เช่นเดียวกับตัวยาถม ต่างกันที่เมฆพัดมีแต่ตะกั่วกับทองแดง ส่วนตัวยาถมมีตะกั่ว ทองแดง และเงิน ตามนัยนี้จึงมีบางท่านคิดว่า ไทยทำถมได้เอง โดยปรับปรุงขึ้นจากเมฆพัด  ซึ่งมีมาแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา เราจะพบว่า ถมที่เก่าที่สุดเป็นถมดำ ถมนี้จะเป็นศิลปะดั้งเดิมที่ไทยคิดขึ้นเอง หรือว่าได้รับอิทธิพลจากต่างประเทศทางยุโรป ก็ยากที่จะหาหลักฐานได้

ส่วนคติความเชื่อในการสร้างวัตถุมงคลนั้น "เนื้อเมฆพัด" เป็นโลหะที่ได้จากการเล่นแร่แปรธาตุ ตามตำราของไทยโบราณเชื่อว่า เป็นธาตุกายสิทธิ์ มีฤทธานุภาพในตัวเอง เมฆพัดเป็นส่วนผสมของตะกั่ว และทองแดง มีกรรมวิธีการสร้างที่ซับซ้อน ในระหว่างหลอมต้องผสมตัวยาหลายชนิด มีกำมะถัน ปรอท และว่านยา ได้แก่ ไพลดำ ต้นหิงหาย ไม้โมกผา ขิงดำ กระชายดำ สบู่แดง สบู่เลือด เป็นต้น ซัดเข้าไปในเบ้าหลอม พอสำเร็จจะได้โลหะสีดำ เป็นมันเงาเลื่อมพราย แต่เปราะและแตกง่าย พระคณาจารย์แต่โบราณนิยมหลอมเมฆพัดมาทำเป็นพระเครื่อง

 พระปิดตาเนื้อเมฆพัด มีการสร้างหลายวัดด้วยกันนั้น และมีการจัดเข้าเป็น ชุดเบญจภาคีพระปิดตาเนื้อเมฆพัด เหมือนกัน ได้แก่ ๑.พระปิดตาหลวงปู่นาค โชติโก วัดห้วยจระเข้ จ.นครปฐม ๒.พระปิดตาหลวงปู่จันทร์ วัดบ้านยาง จ.ราชบุรี ๓.พระปิดตาหลวงพ่อปล้อง วัดหลุมดิน จ.ราชบุรี ๔.พระปิดตาหลวงปู่ทิม วัดบางปลา จ.นครปฐม และ ๕. พระปิดตาหลวงพ่อทา วัดพระเนียงแตก จังหวัดนครปฐม ในบรรดาพระปิดตาเนื้อเมฆพัดด้วยกันแล้ว แต่ไหนแต่ไรมาบรรดานักเลงพระเขายกให้ พระปิดตาเนื้อเมฆพัดหลวงปู่นาค วัดหัวยจรเข้ เป็นสุดยอดอันดับหนึ่งของพระปิดตาเนื้อเมฆพัดด้วยกันทั้งหมด สมัยก่อนพระปิดตาสำนักนี้มีชื่อเรียกติดปากกันว่า "พระปิดตาห้วยจระเข้" ถือว่าเป็นพระปิดตาที่มีประสบการณ์เยี่ยมยอดด้านคงกระพันกับมหาอุดเป็นที่สุด ส่วนทางเมตตามหานิยมกับโชคลาภ ก็ไม่เบาเหมือนกัน

จะเห็นได้ว่า พระปิดตาเนื้อเมฆพัดที่วงการนิยมกันสูงๆ จะเป็นพระปิดตาที่มีแหล่งกำเนิดในเขต จ.นครปฐม และจังหวัดใกล้เคียง อีกทั้งพระเนื้อเมฆพัดพิมพ์อื่นๆ ก็มักจะมีการสร้างโดยสำนักต่างๆ ที่อยู่ในละแวกนี้ด้วย หลวงปู่นาค สร้างพระปิดตามหาอุด เนื้อเมฆพัด เมื่อ พ.ศ.๒๔๓๒ ซึ่งเป็นปีเดียวกับที่ท่านได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ และถือว่าเป็นพระปรมาจารย์เมืองนครปฐมในสมัยแรก เป็นต้นตำรับพระปิดตาเนื้อเมฆพัด พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ และ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เมื่อคราวเสด็จพระราชดำเนินแปรพระราชฐานไปประทับแรม ณ พระราชวังสนามจันทร์ จะต้องเสด็จมาทรงแวะนมัสการหลวงปู่นาคเป็นประจำ และหลวงปู่นาคได้ทูลเกล้าฯ ถวายพระปิดตาแด่สองพระองค์ไว้ทรงบูชาคู่พระวรกายด้วย

นอกจากนี้ หลวงปู่นาคยังเป็นพระเกจิอาจารย์ ที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านการสร้างเนื้อเมฆพัดมาก การผสมเนื้อแร่ต่างๆ การปั้นพิมพ์ และการเทหล่อองค์พระ ท่านทำด้วยตัวท่านเอง องค์พระที่ท่านหล่อออกมาสวยงาม ไม่มีรอยตะเข็บ ไม่เป็นฟองอากาศ เนื้อพระเป็นสีดำอมเขียว สีดำเงาคล้ายปีกแมลงทับ สวยงามพิสดาร เนื้อพระผิวตึงสมบูรณ์แบบด้านรูปทรงว่ากันว่า หลวงปู่นาค กับ หลวงปู่บุยวัดกลางบางแก้ว มีความสนิทสนมกันมากเป็นสหธรรมิกรุ่นน้อง และมีการแลกเปลี่ยนวิชาซึ่งกันและกันด้วย โดยหลวงปู่บุญขอเรียนวิชาการสร้างเนื้อเมฆพัดไปจากหลวงปู่นาค ส่วนหลวงปู่นาคได้ขอเรียนวิชาอื่นๆ จากหลวงปู่บุญ เป็นการแลกเปลี่ยนความรู้กัน

 เอกลักษณ์ของพระปิดตาห้วยจระเข้ นอกจากจะดูพิมพ์เป็นหลักแล้ว พระปิดตาห้วยจระเข้จะต้องมีการลง เหล็กจาร ทุกองค์ด้วย ในการลงเหล็กจารนั้น มีเรื่องเล่ากันว่า หลวงปู่นาคท่านนำเอาพระปิดตาที่สร้างเสร็จแล้วไปลงเหล็กจาร ที่ท่าน้ำข้างๆ วัด โดยท่านจะดำลงไปจารอักขระใต้น้ำ เมื่อจารเสร็จแล้วจะปล่อยให้พระปิดตาลอยขึ้นมาเหนือน้ำเอง โดยมีลูกศิษย์ที่อยู่บนฝั่งคอยเก็บ

 ถ้าพระปิดตาองค์ไหนลงจารแล้วไม่ลอยน้ำขึ้นมา แสดงว่าพระปิดตาองค์นั้นไม่มีพลังพุทธคุณ อันอาจจะเกิดอักขระวิบัติ จากการจารอักขระก็ได้ จากพิธีกรรมการสร้างอันเข้มขลังนี้เอง จึงทำให้พระปิดตาวัดห้วยจระเข้เป็นจักรพรรดิของพระปิดตาเนื้อเมฆพัดทั้งปวง

 ประวัติหลวงปู่นาค

ชาติภูมิของหลวงปู่นาคนั้น ท่านเกิดเมื่อ พ.ศ.๒๓๕๘ (ร.ศ.๓๕) ตรงกับปีกุน จ.ศ.๑๑๗๗ ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ อุปสมบทเมื่ออายุ ๒๑ ปี ณ พัทธสีมาวัดพระปฐมเจดีย์ ตรงกับ พ.ศ.๒๓๗๙ พระอุปัชฌาจารย์ไม่ปรากฏนาม ทราบแต่พระกรรมวาจาจารย์ คือ พระเดชพระคุณท่านเจ้าคุณพระปฐมเจติยานุรักษ์ (หลวงปู่กล่ำ) เจ้าอาวาสวัดพระปฐมเจดีย์ เจ้าคณะจังหวัดนครปฐม ได้รับฉายา "โชติโก" หลวงปู่นาคได้เป็นผู้สร้างวัดห้วยจระเข้ร่วมกับประชาชน ปกครองวัดมานาน ๑๑ ปี ถึงกาลละสังขารเมื่อ พ.ศ.๒๔๕๓ ด้วยโรคชรา รวมอายุได้ ๙๕ ปี ๗๔ พรรษา 




   พระครูปัจฉิมทิศบริหาร(หลวงปู่นาค) ปรมาจารย์ผู้สร้าง พระปิดตาเนื้อเมฆพัตร์ เป็นผู้สร้างวัดห้วยจระเข้ เมื่อปี พ.ศ.2441 (ก่อนหน้านั้นท่านยังจำพรรษาอยู่ที่วัดพระปฐมเจดีย์) เดิมวัดชื่อ "วัดนาคโชติการาม" ต่อมาปีพ.ศ. 2443 ได้เปลี่ยนเป็นชื่อ วัดใหม่ห้วยจระเข้ และวัดห้วยจระเข้ตามลำดับ และท่านได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสรูปแรก หลวงปู่นาคท่านเป็นพระรูปร่างเล็ก บอบบาง ผอมเกร็ง ท่านมีชีวิตอยู่ประมาณปี พ.ศ. 2380 กว่า ถึง พ.ศ. 2453 อายุประมาณ 70 ปี เดิมทีเข้าใจว่าท่านอุปสมบทที่วัดพระปฐมเจดีย์ แต่ตามความจริงแล้วท่านเป็นพระธุดงค์ได้เดินธุดงค์มานมัสการองค์พระปฐมเจดีย์ เพราะมีความเชื่อว่าองค์พระปฐมเจดีย์มี พระบรมสารีริกธาตุบรรจุอยู่ ด้วยความศรัทธาต่อองค์พระปฐมเจดีย์ จึงได้จำพรรษาอยู่ที่วัดพระปฐมเจดีย์ 



 

 

พระครูอุตตรการบดี(สุข  ปทุมสฺสวณฺโณ)

ถ่ายปี พ.ศ.2474

 

   เมื่อหลวงพ่อสุข ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสรูปที่ 2 ของวัดห้วยจระเข้ต่อจากหลวงปู่นาค หลวงพ่อสุขถือกำเนิดที่ตำบลบางแขม อ.เมือง จ.นครปฐม เมื่อวันศุกร์ เดือน 9 ปีมะเมีย ตรงกับวันที่ 25 สิงหาคม 2425 เป็นบุตรคนที่ 5 ในจำนวน 7 คน ของ นายเทศ และนางทิพย์ มาเทศ เมื่ออายุ 11 ปี ได้บรรพชาเป็นสามเณร อยู่ ณ วัดบางแขม อ.เมือง จ. นครปฐม จนอายุครบ 20 ปีบริบูรณ์จึงอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ณ พัทธสีมาวัดบางแขม โดยมีหลวงพ่อคำ วัดหนองเสือ อ.เมือง จ.นครปฐม เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูสมถกิตติคุณ(หลวงพ่อหลั่น) วัดพระประโทนเจดีย์ และหลวงพ่อแก้ว วัดบางแขมเป็นคู่พระกรรมวาจาจารย์ และพระอนุสาวนาจารย์ เมื่ออุปสมบทแล้วได้ย้ายมาศึกษาอักขรสมัย และพระธรรมวินัย วิปัสสนากรรมฐานและคันถธุระตลอดจนวิทยาคมต่างๆ กับหลวงปู่นาค วัดห้วยจระเข้ นอกจากนี้ ท่านยังได้ไปศึกษาเพิ่มเติมกับ หลวงพ่อคำ วัดหนองเสือ หลาวงพ่อคำ ผู้นี้ เป็นญาติผู้น้องของหลวงพ่อทา วัดพะเนียงแตก หลวงพ่อคำท่านมีความเชี่ยวชาญในด้านวิปัสสนากรรมฐาน และวิทยาคมต่างๆ จนสามารถยิงกระสุขคดได้ ระหว่างที่หลวงปู่คำมีชีวิตอยู่ ท่านได้แจกเหรียญหลวงพ่อทา วัดพะเนียงแตกรุ่น 2 ให้กับศิษย์ของท่าน หลวงปู่คำวัดหนองเสือ มรณภาพประมาณ พ.ศ. 2450 กว่า อายุประมาณ 80กว่าร่วม90 ปี ระหว่างงานพิธีศพ หลวงพ่อทาวัดพะเนียงแตก ได้มาเดินนำศพหลวงปู่คำ วัดหนองเสือหลวงพ่อสุขท่านมรณภาพปี 2494


   หลวงพ่อสุข เมื่อได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสแล้ว ท่านได้บริหารปกครองและพัฒนาวัดให้เจริญรุ่งเรืองขึ้น ตามลำดับ ทั้งในด้านการศึกษา การเผยแพร่พระพุทธศาสนา และการบูรณะปฏิสังขรวัด และขยายเนื้อที่วัดให้มากขึ้นโดยการซื้อที่ดินเข้าวัดอย่างมากมาย
  
   หลวงพ่อสุขท่านเป็นพระอาจารย์ที่มีวิทยาคมแก่กล้าไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าหลวงปู่นาค และหลวงพ่อคำซึ่งเป็นอาจารย์ของท่าน ดังนั้น ในพิธีพุทธาภิเษก ท่านมักจะได้รับการนิมนต์เสมอๆ เช่น พิธีพุทธาภิเษกพระคันธาราช วัดพระปฐมเจดีย์ พ.ศ.2476 และพิธีพุทธาภิเษก พระร่วงใบมะยม ของวัดพระปฐมเจดีย์ พ.ศ.2484,พ.ศ. 2485 และพ.ศ.2487 ตามลำดับ


   หลวงพ่อสุข ท่านเป็นพระที่แก่กล้าในวิทยาคมดังได้กล่าวมาแล้ว แม้แต่หลวงพ่อแช่ม วัดตาก้องก็ยอมรับในความแก่กล้าในวิทยาคมของท่าน มีอยู่ครั้งหนึ่งหลวงพ่อแช่มวัดตาก้องกับหลวงพ่อสุข ได้ทดสอบวิชาย่นระยะทางว่าใครจะถึงพิธีพุทธาภิเษกที่วัดพระปฐมเจดีย์ก่อนกัน ปรากฏว่าหลวงพ่อสุขถึงวัดพระปฐมเจดีย์ก่อน (โปรดใช้พิจารณาในการอ่าน) 


   ด้วยกิตติศัพท์ความเชี่ยวชาญในด้านวิปัสสนากรรมฐานและคันถธุระ และความรอบรู้ในด้านวิทยาคมต่างๆ จึงมีผู้มาขอฝากตัวเป็นศิษย์ เพื่อศึกษาวิทยาคมที่เด่นๆ ได้แก่ หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม หลวงพ่อยิ้ว วัดบางแขมต่อมาได้รับสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตร ประจำทิศองค์พระปฐมเจดีย์ ที่พระครูอุตตรการบดี(ยิ้ว) หลวงพ่อแช่ม วัดดอนยายหอม หลวงพ่อเต้า วัดเกาะวังไทย หลวงพ่อพูน วัดไผ่ล้อม หลวงพ่อเล็ก วัดหนองสีดา โดยเฉพาะหลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม ได้มาขอเรียน นะทรหดหรือนะคงกะพัน เมื่อประมาณ พ.ศ. 2480


   หลวงพ่อสุข ท่านได้สร้างวัตถุมงคลจำนวนน้อยมาก วัตถุมงคลที่เป็นที่นิยมของประชาชนทั่วไป คือ เหรียญปั้มรูปเหมือนรุ่นแรก และเป็นเหรียญรุ่นเดียวที่สร้างในขณะที่หลวงพ่อสุขยังมีชีวิตอยู่ เป็นเหรียญรูปเหมือนหลวงพ่อสุขครึ่งองค์ มีอักษรรอบเหรียญว่า "พระครูอุตตรการบดี สุก ปทุมสฺสวณฺโณ" ด้านหลังเขียนว่า วัดห้วยจรเข้ ด้านหลังของเหรียญมีอยู่สองพิมพ์ คือ พิมพ์อุหางสั้น และอุหางยาวเหรียญรุ่นแรกนี้ นักสะสมพระทั่วไปเรียกว่า เหรียญคอสั้น เหรียญรุ่นแรกเข้าใจว่าหลวงพ่อสุขสร้างหลังจากได้รับสมณศักดิ์เป็น พระครูสัญญาบัตรประจำทิศองค์พระปฐมเจดีย์ ที่พระครูอุตตรการบดี เมื่อประมาณ พ.ศ. 2469 ต่อจากหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว เหรียญรุ่นแรกนี้จะเรียกว่าเหรียญรุ่นเลื่อนสมณศักดิ์ก็ได้ มีสองเนื้อ คือ เนื้อเงิน และเนื้อทองแดง


@----------- ศิษย์รักหลวพ่อ สายตรง -----------@
@--------------------- ขอบคุณครับ ---------------------@
---------------- รับประกันความแท้ 100% -----------------
--------- เพื่อนๆท่านใดสนใจโทรติดต่อด่วนครับ ---------
--------
------- พร บางระจัน 081-7842076 -----------------

THAILAND AMULET CENTER |CHIANGMAI OFFICE
211/45 the City Villa, Soi Ladprao 126
Ladprao Rd, Kwang Prapla,Wang Thong Lang district
Bangkok 10310 Mobile :66-093-3361995     e-mail:amuletcenter@hotmail.com
พระเครื่องเมืองสยาม| โดย พร บางระจัน:
236/2 หมู่ 5 ,ถนน เชียงใหม่ ลำพูน ,ตำบลยางเนิ้ง,อำเภิสารภี จังหวัดเชียงใหม่ 50140
Tel: 66-053-963029,66-093-3361995  Fax : 66-53-963029
Mobile : 66-093-3361995   e-mail:amuletcenter@hotmail.com
Copyright © 2006 Thailand Amulet Center. Website Terms of Use   |   Privacy Statement Find us on Youtube Facebook