Rian Luang Phor Pan, Mongkhon Kothawat Temple, 1940 B.E. T第一枚

                             :: 泰国佛牌买卖-Budddhism amulet-Thai Buddha Amulets     โดย พร  บางระจัน  

TRAVEL TOOLS

 

id7500003000070


 


 

Rian Luang Phor Pan, Mongkhon Kothawat Temple, 1940 B.E. T第一枚 Rian Luang Phor Pan, Mongkhon Kothawat Temple, 1940 B.E. T第一枚 Rian Luang Phor Pan, Mongkhon Kothawat Temple, 1940 B.E. T第一枚

 

Rian Luang Phor Pan, Mongkhon Kothawat Temple, 1940 B.E..

Product :000091

Price :3,000,000.00

Detail:Rian Luang Phor Pan, Mongkhon Kothawat Temple, 1940 B.E. T第一枚

橢圓形硬幣,龍婆盤,Mongkhon Kothawat Temple,1940 B.E.
第一枚橢圓形硬幣,於 1940 年在 Khlong Dan 寺的 Wai Khru 儀式上製造。或 Wat Mongkhon Kothawat賽神父和龍普蔡接替普塔康的兩大弟子以及從虎牙中創造出老虎
它是一個帶有圓柱邊緣的硬幣泵。硬幣的邊緣是繃緊的。看不到任何沖壓痕跡。硬幣環用銀作為焊料焊接。只有銅大約 500 枚鑄造硬幣,又一枚價值不菲的硬幣死亡。
潘神父
 

Wat Homdam(现名为:Wat Banghia)Luang Phor Pan龙婆班与督造神兽崇迪Wat BangNomKho Luang Phor Parn龙婆班虽然同样译音为“班”,但两位高僧是不一样的,各有所长。

龙婆班生于Rama III拉玛三世,佛历2368年,在泰国东部旷达府,自幼便出家为僧,其第一位恩师为Luang Phor Sirwatjee,及后他到过很多不同地方习法、打坐。

大概在佛历 2398年左右,龙婆班三十岁时,他遇到另一位恩师Wat Engsirnalor Luang Phor  Daeng,他是一位古代深山高人,精通老虎类法门,龙婆班随Luang Phor  Daeng习法约二十年,其恩师将一切传授后,便回到自已的寺庙Wat Banghia直至完寂。

龙婆班一生为人寡言,经常会到深山打坐、禅修,有时只有一人,有时会与其他僧人结伴,研习最高的法门。龙婆班加持的圣水、塔固、照片等佛牌圣物都有很好的口啤,但最为有名的为 “Kiew Sue Kae”(老虎),龙婆班用虎牙雕刻成“老虎”法相,旁边会放猪肉,加持念经直至“老虎”会跳到猪肉上为止。而且每一尊圣物都会用此心法加持,也是泰国唯一一位有能力用此法门开光的圣僧。

龙婆班有时会在寺庙内制作虎王,有时则会自已到深山山洞或树林中制作,其督造的虎王被全泰公认第一,而且其还被喻为全泰Khem Lang圣物第一(冠兰即非佛牌类,无法相圣物),美品在泰国很贵且难求。

人们都相信每尊老虎内都有独立的神兽灵,这也是泰国市场非常热爱虎王龙婆班圣物的理由。

佛历2452年,龙婆班与当时在位的五世皇一同到Wat Monggothawan出席开幕礼,当时有一位小沙弥拿著龙婆班制作的老虎,准备给龙婆班分送给其他人。但在经过一小桥时,不慎将碟子上的老虎全部跌入河中,当龙婆班叫小沙弥把老虎给他时,碟子上已经空空如也。于是龙婆班走到河边,用一条绳子吊著猪肉放在河面上,一会儿掉入河中的小老虎全都跳上去“咬”著猪肉,情景就像老虎抢猪肉一样,众人都觉得十分惊奇,这也是龙婆班大师最有名故事之一。

以前的四世皇非常喜欢研习佛法及写书,其佛学修为也是非常有名的,而龙婆班的名字也被其纪录在书中,四世皇指他是其中一位非常出色的圣僧。

龙婆班于佛历2453年圆寂,享年87岁,65年僧侣生涯。


北欖府 Bang Bo 區 Wat Mongkhon Kothawat

潘神父是邦波人,1825年出生於北欖府邦順區(今空丹區)空南洪,祖父是中國人,名叫喬,祖母是泰國人名叫Pin,父親有中國血統,名叫“Pluem”。母親是泰國人她是平奶奶的長女,姓譚。他的家人在 Khok Sethi 村。有5個兄弟姐妹和父母,他是第三個孩子。

第一個人的名字是Thep先生。

第二個人的名字是達先生。

第三個人的名字是Nai Pan (Luang Por Pan)

第四個人的名字是陳先生。

第五個人的名字是賈姆夫人。

後來在拉瑪六世國王統治時期頒布了《姓氏法》。龍婆潘的後裔曾用他祖先的名字定姓“Noo Thep”

小時候父母把它留給了Chao Khun Sri Sakyamuni。鄭王寺 (Wat Chaeng) 的方丈學習泰語不久之後,你被任命為新手。後來,他從一個新手那裡被帶走,以幫助他的父母謀生,通過製作和砍柴作為固定職業出售。你是一個有耐心和努力的人。讓父母感到非常放心

我小的時候你過著正常的農村生活。長大到小時候開始按照人性在異性中產生了精神上的羈絆。有一天,他去了他心愛的女孩的家。可剛洗完腳,他就踏上了樓梯。奇蹟般地爬上樓梯,堅固的塔基安木突然分崩離析。導致你從樓梯上摔下來因此,他認為這是他在世界上財富終結的預兆。回到家後,他沉思了好幾天。結果,他決定出家。

當他被任命時,他在鄭王廟被任命為僧侶。以Chao Khun Sri Sakyamuni為導師他學習了內觀禪修。包括迷信他已經從許多教職員工那里傳下來,直到他精通為止。後來搬到住在Wat Bang Hue Nok的佛教大齋期,現在被稱為Wat Mongkhon Kothawat。與一位密友和尚,緊隨其後的是一位名叫魯恩神父的和尚。

潘神父和魯恩神父遠赴春武里府孟區“Wat Ang Sila”。並自封為昂西拉寺住持“Luang Por Taeng”的弟子通過學習內觀擅長各種魔法,以龍婆盤聞名,尤其是“虎牙”雕刻成一隻坐虎的形狀“在獲得專業知識後,他告別了Phra Ajarn“Luang Por Taeng”,與Phra Ajarn Ruen和他的朋友在Wat Bang Hia(現Wat Mongkhon Kothawat)留在家鄉寺廟. 並擔任方丈,魯安神父為副方丈兩人在教育和修行方面,都對寺內僧人進行了嚴格的管治。

直到 1909 年,水閘堵住了邦順河或目前的Pratunam Chonlaharn Phichit已造成漏水,無論機械師如何修理,都無法阻止水停留直到當地政府官員將此事提交給拉瑪五世國王陛下承認,才能依靠陛下。

在Pratunam Bang Hue 停留3 天后,他奉命邀請Luang Por Pan 與他會面。查詢各種事宜Luang Phor Parn 來拜訪這給了男孩豆莢端著平底鍋把虎牙雕刻成老虎的形象,當時真是虎牙雕出來的。到達印記時神父叫了一個平底鍋,把波德手裡拿著的男孩的虎牙放在上面。卻發現虎牙已經不在幻影中了,男孩說,一路上老虎已經完全跳入水中了。

龍婆盤知道後,只好帶著泥塑一頭豬。然後在拉瑪五世國王面前歪著一根棍子把老虎從水里引出來,拉瑪五世一直在看直到他對龍婆潘說“夠了,神父。”

至於虎牙,Luang Por Parn是由6個木匠製作的,所以形狀不一樣,有張嘴也有閉嘴,所有技師都會以貓為模型雕刻。

朱拉隆功國王陛下的皇家著作“巴真王子殿下”的故事講述了帕潘

“Phra Kru Pan 也前來拜訪。 Phra Kru Pan,這個形像以內省和dudongkhawat的方式流行,各個寺廟都有僧侶。帶著兩百三百去遠足首先去Wat Bang Huea參加會議。有些奉獻者有信心幫助餵養他們。吃掉幾乎所有的淡水,然後去散步。那樣下到 Bang Pla Soi然後回到Prachin,Nakhon Nayok,去見國王陛下,然後向Saraburi走去。如果坐火車來但不在火車上除了一個累了病的和尚經過曼谷回到邦華。在農曆月份旅行大約五個月後回到寺廟40年來一直如此。

人們推崇的魔術是戴上打固,用線繫住手腕,澆上聖水。雕刻的虎牙呈虎形,有的小,有的大,工藝粗糙。那隻老虎,念誦時,一定要用豬念誦。老虎可以跳進豬肉裡。老師自己也看到了這很困難。厭倦了有人在這里和那裡攪拌。他說,有時他會逃到蝙蝠王 (Saraburi) 逃往 Khao Pho Lanka 的墓地。人們仍然跟隨並攪拌。

เหรียญรูปไข่รุ่นแรก หลวงพ่อปาน วัดมงคลโคธาวาส พ.ศ.248

รหัสสินค้า: 000091

ราคา: 3,000,000.00 บาท

 

รายละเอียด:

เหรียญรูปไข่รุ่นแรก หลวงพ่อปาน วัดมงคลโคธาวาส พ.ศ.2483
เหรียญรูปไข่รุ่นแรก สร้างเมื่อปี พ.ศ.2483 ในพิธีไหว้ครูที่วัดคลองด่าน หรือวัดมงคลโคธาวาส โดยหลวงพ่อสาย และหลวงพ่อเชื้อ สองศิษย์เอกผู้สืบทอดพุทธาคม และการสร้างเสือแกะจากเขี้ยวเสือ
เป็นเหรียญปั๊มแบบขอบกระบอก โดยขอบของเหรียญนั้นจะตึงเรียบ ไม่ปรากฏร่องรอยการปั๊มตัดให้เห็น ห่วงเหรียญเชื่อมบัดกรีด้วยเงินเป็นตัวประสาน มีเฉพาะเนื้อทองแดง จำนวนการสร้างประมาณ 500 เหรียญ จัดเป็นเหรียญตายที่มีค่านิยมสูงอีกเหรียญหนึ่งง
หลวงพ่อปาน

วัดมงคลโคธาวาส อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ

หลวงพ่อปานเป็นชาวบางบ่อ ท่านเกิดที่ คลองนางโหง ตำบลบางเหี้ย (ตำบลคลองด่านในปัจจุบัน) จังหวัดสมุทรปราการ เมื่อปี พ.ศ. ๒๓๖๘ ตาเป็นคนจีนชื่อ เขียว ยายเป็นคนไทยชื่อ ปิ่น บิดามีเชื้อจีน ชื่อ "ปลื้ม" มารดาเป็นคนไทย เป็นลูกสาวคนโตของยายปิ่น ชื่อ ตาล อาชีพทำป่าจาก ครอบครัวของท่านอยู่ที่หมู่บ้านโคกเศรษฐี มีพี่น้องร่วมบิดามารดา ๕ คน ท่านเป็นบุตรคนที่ ๓

คนที่ ๑ ชื่อ นายเทพย์

คนที่ ๒ ชื่อ นายทัต

คนที่ ๓ ชื่อ นายปาน (หลวงพ่อปาน)

คนที่ ๔ ชื่อนายจันทร์

คนที่ ๕ ชื่อนางแจ่ม

ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ตราพระราชบัญญัตินามสกุลขึ้นใช้ ลูกหลานของหลวงพ่อปาน ได้ใช้ชื่อของบรรพบุรุษมาตั้งเป็นนามสกุลว่า "หนูเทพย์"

เมื่อตอนเป็นเด็ก บิดามารดาได้นำไปฝากไว้กับท่านเจ้าคุณศรีศากยมุนี เจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม (วัดแจ้ง) เพื่อให้เรียนหนังสือไทย ต่อมาไม่นานเจ้าคุณได้ให้บรรพชาเป็นสามเณร ต่อมาท่านได้สึกจากเณร มาช่วยพ่อแม่ ประกอบอาชีพ ทำจาก และตัดฟืนไปขายเป็นอาชีพประจำ ท่านเป็นผู้มีนิสัยอดทนหนักเอาเบาสู้ ทำให้พ่อแม่เบาใจมาก

เมื่อยังเยาว์ ท่านได้ใช้ชีวิตแบบชาวชนบทคนธรรมดา ครั้นเมื่อเติบโตสู่วัยหนุ่ม เริ่มมีจิตปฏิพัทธ์ผูกพันในเพศตรงข้ามตามวิสัยปุถุชน วันหนึ่งท่านได้ดั้นด้นไปบ้านสาวคนรัก แต่พอล้างเท้าก้าวขึ้นบันได เกิดอัศจรรย์ขึ้นบันไดไม้ตะเคียนอันแข็งแรงพลันหลุดออกจากกัน ทำให้ท่านพลัดตกจากบันได ท่านจึงคิดได้ว่าเป็นลางสังหรณ์บอกถึงการสิ้นวาสนาในทางโลกเสียแล้ว เมื่อกลับถึงบ้านจึงครุ่นคิดตัดสินใจอยู่หลายวัน ผลที่สุดจึงตัดสินใจออกบวช

เมื่ออายุครบบวชจึงได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุอยู่ที่วัดอรุณราชวรารามนั่นเอง โดยมีท่านเจ้าคุณศรีศากยมุนีเป็นพระอุปัชฌาย์ ท่านศึกษาด้านวิปัสสนากรรมฐาน รวมถึงไสยศาสตร์ ท่านได้รับการถ่ายทอดจากคณาจารย์หลายองค์จนเชี่ยวชาญ ภายหลังได้ย้ายมาจำพรรษาที่วัดบางเหี้ยนอก ปัจจุบัน เรียกว่าวัดมงคลโคธาวาส โดยมีพระที่เป็นสหายสนิทตามมาด้วยองค์หนึ่งชื่อ หลวงพ่อเรือน หลังออกพรรษาท่านและพระเรือนเริ่มออกธุดงค์ไปสถานที่ต่างๆ

หลวงพ่อปานและหลวงพ่อเรือนได้ดั้นด้นไปจนถึง"วัดอ่างศิลา" อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี และได้ฝากตัวเป็นสานุศิษย์ของ"หลวงพ่อแตง" เจ้าอาวาสวัดอ่างศิลา โดยศึกษาด้านวิปัสนาธุระ ไสยเวทย์มนต์ต่าง ๆ จนเชี่ยวชาญและสร้างชื่อเสียงให้หลวงพ่อปานเป็นอย่างยิ่งโดยเฉพาะ " เขี้ยวเสือโคร่ง ซึ่งแกะเป็นรูปเสือนั่ง " เมื่อมีความเชี่ยวชาญแล้วจึงได้อำลาพระอาจารย์ "หลวงพ่อแตง" มาพำนักอยู่ที่วัดบ้านเกิดตนเองพร้อมด้วยพระอาจารย์เรือน เพื่อนสหาย ณ วัดบางเหี้ย (ปัจจุบันคือวัดมงคลโคธาวาส) และดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสโดยมีหลวงพ่อเรือนเป็นรองเจ้าอาวาส ซึ่งทั้งสองรูปได้ปกครองพระลูกวัดทั้งด้านการศึกษาและการปฏิบัติธรรมอย่างเคร่งครัดมาตลอด

จนกระทั่งในปี พ.ศ.๒๔๕๒ ประตูน้ำที่กั้นแม่น้ำบางเหี้ย หรือประตูน้ำชลหารพิจิตรในปัจจุบัน ได้เกิดรั่วไม่สามารถปิดกั้นน้ำให้อยู่ได้ไม่ว่าช่างจะซ่อมอย่างไร จนกระทั่งข้าราชการในท้องถิ่นได้นำความขึ้นกราบทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๕ ให้ทรงทราบเพื่อขอพึ่งพระบารมีพระองค์ท่าน

ระหว่างที่ประทับอยู่ที่ประตูน้ำบางเหี้ยเป็นเวลา ๓ วันนั้น พระองค์ได้รับสั่งให้นิมนต์หลวงพ่อปานเข้าเฝ้าฯ เพื่อไต่ถามเรื่องต่างๆ โดยขณะที่หลวงพ่อปานเดินทางเข้าเฝ้าฯ นั้นได้ให้เด็กชายป๊อด ถือพานใส่เขี้ยวเสือที่แกะเป็นรูปเสือไปด้วยซึ่งสมัยนั้นแกะจากเขี้ยวเสือจริงๆ เมื่อไปถึงที่ประทับ หลวงพ่อได้เรียกเอาพานใส่เขี้ยวเสือจากเด็กชายป๊อดที่ถืออยู่ แต่พบว่าไม่มีเขี้ยวเสืออยู่ในพานแล้วโดยเด็กชายป๊อดบอกว่าเสือกระโดดลงน้ำระหว่างทางจนหมดแล้ว

หลังจากหลวงพ่อปานทราบจึงได้ให้นำเอาดินเหนียวมาปั้นเป็นรูปหมู แล้วเสียบไม้แกว่งล่อเสือขึ้นมาจากน้ำต่อหน้าพระพักตร์ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ซึ่งประทับทอดพระเนตรอยู่ตลอด จนถึงกับตรัสกับหลวงพ่อปานว่า "พอแล้วหลวงตา"

สำหรับเขี้ยวเสือหลวงพ่อปานนั้นได้จัดทำด้วยช่างแกะถึง ๖ คน จึงมีรูปร่างไม่เหมือนกันมีทั้ง อ้าปาก หุบปาก โดยช่างทั้งหมดจะเอาแมวมาเป็นต้นแบบในการแกะ

พระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เรื่อง”เสด็จประพาส มณฑลปราจิณ” ได้เล่าถึงพระปานไว้ว่า

“พระครูปานมาหาด้วย พระครูปานรูปนี้นิยมกันในทางวิปัสสนา และธุดงควัตร มีพระสงฆ์วัดต่างๆ ไปธุดงค์ด้วยสองร้อยสามร้อย แรกลงไปประชุมที่วัดบางเหี้ย มีสัปบุรุษที่ศรัทธาเลื่อมใสช่วยกันเลี้ยง กินน้ำจืดที่มีไว้เกือบจะหมดแล้วก็ออกเดิน ทางที่เดินนั้น ลงไปบางปลาสร้อย แล้วจึงเวียนกลับขึ้นไปปราจิณ นครนายก ไปพระบาท แล้วเดินลงมาทางสระบุรี ถ้ามาตามทางรถไฟ แต่ไม่ขึ้นรถไฟ เว้นแต่พระที่เมื่อยล้าเจ็บไข้ ผ่านกรุงเทพฯกลับลงไปบางเหี้ย ออกเดินทางอยู่ในแรมเดือนยี่ กลับไปวัดอยู่ในราวเดือนห้าเดือนหก ประพฤติเป็นอาจิณวัตรเช่นนี้มา ๔๐ ปีแล้ว

คุณวิเศษที่คนเลื่อมใสคือ ให้ลงตะกรุด ด้ายผูกข้อมือ รดน้ำมนต์ ที่นิยมกันมากคือ เขี้ยวเสือแกะเป็นรูปเสือ เล็กบ้าง ใหญ่บ้าง ฝีมือหยาบๆ ข่าวที่ร่ำลือกันว่า เสือนั้นเวลาจะปลุกเสก ต้องใช้หมู ปลุกเสกเป่าไปข้อไร เสือนั้นกระโดดลงไปในเนื้อหมูได้ ตัวพระครูเองเห็นจะได้ความลำบาก เหน็ดเหนื่อยในการที่ใครๆ กวนให้ลงโน่นลงนี่ เขาว่าบางทีก็หนีไปอยู่ในป่าช้า ที่พระบาทฯ (สระบุรี) ก็หนีไปอยู่บนเขาโพธิ์ลังกา คนก็ยังตามไปกวนไม่เป็นอันห

 

 
THAILAND AMULET CENTER |CHIANGMAI OFFICE
211/45 the City Villa, Soi Ladprao 126
Ladprao Rd, Kwang Prapla,Wang Thong Lang district
Bangkok 10310 Mobile :66-093-3361995     e-mail:amuletcenter@hotmail.com
พระเครื่องเมืองสยาม| โดย พร บางระจัน:
236/2 หมู่ 5 ,ถนน เชียงใหม่ ลำพูน ,ตำบลยางเนิ้ง,อำเภิสารภี จังหวัดเชียงใหม่ 50140
Tel: 66-053-963029,66-093-3361995  Fax : 66-53-963029
Mobile : 66-093-3361995   e-mail:amuletcenter@hotmail.com
Copyright © 2006 Thailand Amulet Center. Website Terms of Use   |   Privacy Statement Find us on Youtube Facebook