Rian Luang Por Dam Janthasaro (15 April 1941 – 3 December 2008
Model : B.E.
2497
Product :000747
Price :300,000.00
Detail:
Rian Luang Por Dam Janthasaro (15 April 1941 – 3 December 2008
Luang Por
Dam
Janthasaro
(15 April
1941 – 3
December
2008) was
the former
abbot of Wat
Mai Napharam
who
inherited
the
knowledge of
making the
master’s
stick and
Phra Khwam
Badi (Phra
Pitta) from
Luang Por
Korn of Wat
Bang Sae
(the owner
of the Phra
Pitta amulet
worth
hundreds of
thousands or
millions).
Luang Por
Dam’s
amulets are
famous
throughout
Thailand,
Singapore,
and
Malaysia.
They are
widely
believed to
be so
powerful
that bullets
cannot
penetrate
them, that
they protect
people from
various
dangers,
bring great
fortune, and
help them
get rid of
debts and
debts, and
reverse
their fate
in an
incredible
way. Even
the kings of
some states
in Malaysia
[citation
needed] wear
Phra Pitta
and hold his
master’s
stick with
faith. This
is because
10 years
ago, their
Phra Pitta
was tested
in Malaysia
in front of
the king of
that state.
The result
was that it
was
extremely
powerful and
could not be
penetrated
by bullets.
This was
talked about
by both
Thais and
foreigners
who were
present at
the event.
The whole
story was
published in
a newspaper
[1]. Apart
from Luang
Por Dam, his
teachers
also studied
with Luang
Por Korn. He
also studied
further with
Luang Pu Toh
of Wat Pradu
Chim Pli
(March 27,
1887 – March
5, 1981).
Just by
mentioning
his name,
one can
immediately
know how
skilled he
was in
magic. His
fellow
practitioners
included
Luang Pho
Thong of Wat
Sampao Chai
(April 5,
1918 – April
26, 2011)
and Father
Than Het of
Wat
Rangsitawas
in Yala
Province
[2].
His
birthplace
His original
name was Dam
Krainoi. He
was born on
April 15,
1941, during
the reign of
King Ananda
Mahidol,
Rama VIII,
at 200 Moo
6, Tambon
Pron, Amphoe
Tak Bai,
Narathiwat
Province. He
was the son
of Mr. Chan
and Mrs.
Chan Krainoi,
and had two
siblings. He
was the
eldest son.
When he was
young, his
father
brought him
to study at
Wat Mai
Napharam.
Until
finishing
the fourth
grade of
primary
school, with
Phra
Athikarn
Chan, the
former abbot
of Wat Mai
Napharam, as
the
caretaker
and trainer
of his
behavior. As
a child,
Than Dam was
a
well-behaved
person, not
naughty or
rebellious
like his
friends of
the same
age. Because
his family
was strict
in Thai
traditions
since
ancient
times, when
it was a
merit-making
festival,
they would
go to the
temple to
make merit
regularly.
This made
Than Dam
have a
gentle
heart, kind
to other
animals like
a chip that
doesn't fall
far from the
tree. And he
was a
diligent
person,
paying
attention to
his work,
such as
farming,
including
being a
skilled
construction
worker. When
he was 20
years old,
he was
ordained as
a monk in
1961 at the
boundary of
Wat Mai
Napharam
with Phra
Khru
Niphatkanlaya
of Wat
Prachum
Chonthat as
the
preceptor,
Phra Palat
Muang
Thitthammo
as the
kammavajacariya,
and Phra
Athikarn Nui
of Wat Mai
Napharam as
the
anusavanacariya.
He was given
the nickname
Chanthasaro
[3]. Luang
Pho Dam
studied the
Dharma and
the
Pariyatti
Dhamma. He
was able to
pass the
Naktham Tri
and Naktham
To exams in
order.
Later, he
became
interested
in learning
and studied
Vipassana
meditation,
black magic,
and spells.
He studied
these
subjects
from ancient
palm leaf
manuscripts
in the
temple [4]
and studied
the
principles
directly
with the
abbot until
he became an
expert in
practice,
Pariyatti,
and
Pativedha.
In the
fourth year
of his
ordination,
he moved to
reside at
Wat
Prachaphirom
in the city
of
Narathiwat.
During this
time, he was
able to pass
the Naktham
Ek exam and
resided
there for 10
years [5].
Walking
asceticism
This is a
way of
practicing
the virtues
of Dhamma.
Some
wandering
monks like
to help
villagers by
teaching
them to
observe the
precepts,
practice
meditation,
and
Vipassana,
so that they
can reach
the Triple
Gem, and to
stop
believing in
ghosts,
demons, and
superstitions
completely
because
believing in
ghosts is a
delusion
that only
brings
suffering.
But
believing in
the Buddha,
the Dharma,
the Sangha,
and adhering
to the 5
precepts and
8 precepts
as a
practice,
when one
dies one
will be
reborn as an
angel in
heaven [6].
Luang Pho
Dam traveled
on a
pilgrimage
throughout
the North
for many
years. Most
of the
secluded
places were
usually
cemeteries
or forests
and
mountains.
During this
pilgrimage,
whenever he
heard news
about a good
teacher, he
would go and
ask to be
his
disciple,
asking to
learn
Vipassana
meditation,
learning
spells, and
even
traditional
medicine. He
began to
study. After
that, he
traveled
back to his
hometown,
Narathiwat,
and stayed
at a temple
he was
familiar
with, Wat
Mai Napharam,
until he
passed away
in 1985. He
was
appointed as
the Upachaya,
performing
the
ordination
of young men
who aspired
to Dharma in
2000. He
received the
ecclesiastical
title of
Phra Khru
Niphawihankit,
but
unfortunately,
he passed
away on
December 3,
2008 at the
age of 67,
having been
a monk for
47 years,
even though
he was not
that

เหรียญหลวงพ่อดำ จนฺทสโร วัดท่าสุทธาราม จ.ชุมพร รุ่นแรก ปี2497
รายละเอียด:เหรียญหลวงพ่อดำ จนฺทสโร วัดท่าสุทธาราม จ.ชุมพร รุ่นแรก ปี2497
หลวงพ่อดำ
จนฺทสโร (15
เมษายน พ.ศ.
2484 — 3
ธันวาคม พ.ศ.
2551)
อดีตเจ้าอาวาส
วัดใหม่นภาราม
ผู้ที่สืบทอดวิชาการสร้างไม้ครูและพระควัมบดี
(พระปิตตา)
มาจากหลวงพ่อครน
วัดบางแซะ (เจ้าของพระปิตตาค่านิยมหลักแสนหลักล้าน)
วัตถุมงคลของหลวงพ่อดำโด่งดังไปทั่วเมืองไทย
สิงคโปร์
และมาเลเซีย
ปิดกันให้แซ่ดว่า
ขลังยิงไม่ออก
แคล้วคลาดจากอันตรายนานัปการ
เป็นมหาลาภ
ปลดหนี้ปลดสิน
พลิกฟื้นดวงชะตาได้อย่างไม่น่าเชื่อ
แม้แต่
พระมหากษัตริย์
บางรัฐของมาเลเซีย[ต้องการอ้างอิง]
ยังแขวนพระปิตตาและถือไม้ครูของท่านด้วยความศรัทธา
เนื่องจากในสมัย
10 ปีก่อน
มีการทดสอบพระปิตตาของท่านในมาเลเซีย
ต่อหน้ากษัตริย์แห่งรัฐนั้น
ผลคือมหาอุตยิงไม่ออก
เป็นที่กล่าวขานทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศที่อยู่ในเหตุการณ์
เรื่องราวทั้งหมดได้ตีพิมพ์อยู่ในหนังสือพิมพ์
[1]
ครูบาอาจารย์ของท่าน
นอกจากหลวงพ่อดำ
ได้ไปศึกษากับหลวงพ่อครนแล้ว
ท่านยังได้ไปศึกษาเพิ่มเติมกับ
หลวงปู่โต๊ะ
วัดประดู่ฉิมพลี
(27 มีนาคม
พ.ศ. 2430 —
5 มีนาคม
พ.ศ. 2524)
อีกด้วย
แค่เอ่ยนามก็สามารถรับรู้ทันทีได้ว่า
ท่านจะมีความเก่งกล้าเพียงใดในวิชาอาคม
ส่วนสหธรรมิกของท่านได้แก่
หลวงพ่อทอง
วัดสำเภาเชย
(5 เมษายน
พ.ศ. 2461 —
26 เมษายน
พ.ศ. 2554)
และพ่อท่านเหมาะ
วัดรังสิตาวาส
จังหวัดยะลา
ชาติภูมิของท่าน
ท่านมีนามเดิมว่า
ดำ ไกรน้อย
ท่านเกิดเมื่อวันที่
15 เมษายน
พ.ศ. 2484
ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล
รัชกาลที่ 8
ณ บ้านเลขที่
200 หมู่ 6
ตำบลพร่อน
อำเภอตากใบ
จังหวัดนราธิวาส
เป็นบุตรของนายจันทร์และนางจันทร์
ไกรน้อย
มีพี่น้องร่วมกัน
2 คน
ท่านเป็นบุตรคนโต
ในวัยเด็กโยมบิดานำท่านมาฝากไว้ที่สำนักเรียนที่วัดใหม่นภาราม
จนจบชั้นประถมศึกษาปีที่
4
โดยมีพระอธิการจันทร์
อดีตเจ้าอาวาสวัดใหม่นภาราม
เป็นผู้ดูแลและอบรมความประพฤติ
ซึ่งในวัยเด็กท่านดำก็เป็นคนที่มีความประพฤติเรียบร้อยอยู่แล้ว
ไม่เกกมะเหรกเกเรเหมือนเพื่อนฝูงในวัยเดียวกัน
เนื่องจากครอบครัวของท่านเป็นผู้ที่เคร่งครัดในขนบธรรมเนียมประเพณี
ไทยมาตั้งแต่โบราณ
เมื่อถึงเทศกาลทำบุญก็จะพากันเข้าวัดเข้าวา
ทำบุญสุนทานอยู่เป็นประจำ
ทำให้ท่านดำมีจิตใจที่อ่อนโยน
มีเมตตาต่อสัตว์อื่น
ๆ
เหมือนลูกไม้หล่นไม่ไกลต้น
และท่านเป็นคนที่มีความขยันหมั่นเพียร
เอาใจใส่ในการงานเช่น
การทำไร่ไถนา
รวมทั้งช่างก่อสร้างที่มีฝีมือคนหนึ่ง
เมื่ออายุครบ
20 ปี
ท่านจึงได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุเมื่อปี
พ.ศ. 2504 ณ
พัทธสีมาวัดใหม่นภาราม
โดยมีพระครูนิพัทธกาลัญญา
วัดประชุมชลธาดา
เป็นพระอุปัชฌาย์
พระปลัดม่วง
ฐิตธัมโม
เป็นพระกรรมวาจาจารย์
พระอธิการนุ้ย
วัดใหม่นภาราม
เป็นพระอนุสาวนาจารย์
ได้รับฉายาว่า
จันทสโร [3]
หลวงพ่อดำ
ได้อยู่ศึกษาพระธรรมวินัยและพระปริยัติธรรม
สามารถสอบนักธรรมชั้นตรีและนักธรรมชั้นโตได้ตามลำดับ
ต่อมาจึงสนใจใฝ่รู้
และได้เรียนศึกษาด้านวิปัสสนากรรมฐาน
ไสยศาสตร์
คาถาอาคม
ได้ศึกษาวิชาเหล่านี้จาก
คำภีร์
สมุดข่อยใบราณ
อันเป็นของอันเก่าแก่ภายในวัด
[4]
และศึกษาหลักโดยตรงกับเจ้าอาวาส
จนมีความเชี่ยวชาญทางด้านภาคปฏิบัติ
ปริยัติ
และปฏิเวธ
ในพรรษาที่ 4
ท่านได้ย้ายมาจำพรรษาอยู่ที่วัดประชาภิรมย์
อยู่ในตัวเมืองนราธิวาส
ในช่วงนี้ท่านก็สามารถสอบผ่านนักธรรมชั้นเอก
จำพรรษาอยู่ที่นั่นนานถึง
10 พรรษา
การเดินธุดงค์
เป็นการบำเพ็ญบารมีธรรม
พระธุดงค์บางรูปก็ชอบโปรดชาวบ้านด้วยการสอนให้รักษาศีล
ปฏิบัติสมาธิและวิปัสสนา
ให้เข้าถึงพระรัตนตรัย
ให้เลิกละการนับถือภูตผีปีศาจ
สิ่งเหลวไหลงมงายโดยสิ้นเชิง
เพราะการนับถือผีเป็นความหลงผิด
มีแต่ความทุกข์
แต่การนับถือพระพุทธ
พระธรรม
พระสงฆ์
และยึดถือศีล
5 ศีล 8
เป็นข้อปฏิบัติ
เมื่อตายแล้วจะได้ไปเกิดเป็นเทวดาอยู่บนสวรรค์
[6]
หลวงพ่อดำท่องเที่ยวธุดงค์ไปทั่วภาคเหนือเป็นเวลาหลายปี
สถานที่ปลีกวิเวกส่วนมากมักจะเป็นป่าช้า
หรือป่าเขาลำเนาไพร
ในระหว่างการธุดงค์นี้
เมื่อได้ยินข่าวว่าครูบาอาจารย์ท่านไหนดี
ก็จะไปฝากตัวเป็นลูกศิษย์ขอเรียนวิปัสสนากรรมฐานบ้าง
เรียนคาถาอาคมบ้าง
และจนกระทั่งตำราแพทย์แผนโบราณ
ท่านก็ได้เริ่มเรียน
หลังจากนั้นท่านได้เดินทางกลับนราธิวาสบ้านเกิดของท่าน
มาจำพรรษาวักที่ท่านคุ้นเคย
คือ
วัดใหม่นภาราม
สืบมาจนกระทั่งมรณภาพ
ในปี พ.ศ.
2528
ท่านได้รับการแต่งตั้งเป็นพระอุปัชฌาย์
ทำหน้าที่อุปสมบทให้กุลบุตรผู้ใฝ่ธรรมในปี
พ.ศ. 2543
ได้รับสมณศักดิ์เป็นพระครูชั้นเอกที่
พระครูนิภาวิหารกิจ
แต่น่าเสียดาย
ท่านได้มาถึงแก่มรณภาพในวันที่
3 ธันวาคม
พ.ศ. 2551
ด้วยวัย 67
ปี 47
พรรษาเสียก่อน
ทั้งทั้งที่อายุยังไม่เยอะเลย
---------
เพื่อนๆท่านใดสนใจโทรติดต่อด่วนครับ
---------
---------------
พร บางระจัน
093-3361995
-----------------
|