เหรียญหลวงพ่อเพลิน วัดหนองไม้เหลือง เพชรบุรี รุ่นแรก พ.ศ.2495

Luang Phor Chong  หลวงจง วัดหน้าต่างนอก

 

Phra Achan Phrom    พระอาจารย์พรหม วัดขนอนเหนือ

Luang phor Sud หลวงพ่อสุด วัดกาหลง

Luang Pho Ei  หลวงพ่ออี๋ วัดสัตหีบ จ.ชลบุรี

Luang Phor Phrom หลวงพ่อพรหม วัดช่องแค

Luang Phor Kasem Kemagohหลวงพ่อเกษม เขมโก

Luang Phor Suk  หลวงปู่ศุขวัดปากคลองมะขามเฒ่า

Luangphor klan Wat Phayat หลวงพ่อกลั่นวัดพระญาติ

Phra Rod Lamphun  พระรอด ลำพูน

Luang Poo Tood หลวงปู่ทวด วัดช้างให้

Kruba Sroy -Lunagpoo Hong  ครูบาสร้อย - หลวงปู่หงษ์

Luang Phor Koon หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ

Luang Phor Dang หลวงพ่อแดง วัดเขาบันไดอิฐ จังหวัดเพชรบุรี

Luang Poo Tim Wat Rahanrai หลวงปู่ทิม วัดระหารไร่ ระยอง

ครูบาเจ้าศรีวิชัย-ครูบาน้อย ชยวังโส วัดบ้านปง

Luang Phor Pan หลวงพ่อพาน วัดโป่งกะสัง

Luang Phor Derm หลวงพ่อเดิม วัดหนองโพ

Luang Phor Kuay หลวงพ่อกวย ชุตินธโร

Luang Phor Ngern Wat Bangklanหลวงพ่อเงิน วัดบางตลาน

Phra Pidta พระปิดตา

Luang Poo Du หลวงปู่ดู่ วัดสะแก

Luang Po Prong  หลวงปู่ปรง'วัดธรรมเจดีย์จ.สิงห์บุรี

LP Boon Wat Klang Bangkaew หลวงปู่บุญวัดกลางบางแก้ว

Phra Khun Paen พระ ขุนแผน

Luang Phor Rum หลวงพ่อหร่ำ  วัดกร่าง จ.ปทุมธานี

Phor Tan Klai พ่อท่านคล้าย

LungPhor Seng หลวงพ่อเส็ง

 

Amulet Talisman เครื่องราง ของขลัง

Lunag Phor Boiหลวงพ่อโบ้ยวัดมะนาวสุพรรณบุรี

Luang Phor Nueng หลวงพ่อเนื่อง วัดจุฬามณี

Kuman Thong หลวงพ่อเต๋ วัดสามง่าม

 

 


เหรียญหลวงพ่อเพลิน วัดหนองไม้เหลือง เพชรบุรี รุ่นแรก พ.ศ.2495 เหรียญหลวงพ่อเพลิน วัดหนองไม้เหลือง เพชรบุรี รุ่นแรก พ.ศ.2495

 

 Rian Luang Por Plearn coin, Wat Nong Mai Luang, Phetchaburi, B.E. 2495

 Model : B.E. 2495
Product :000747

Price :300,000.00

Detail: Rian Luang Por Plearn coin, Wat Nong Mai Luang, Phetchaburi, B.E. 2495

  The first edition of Luang Por Plearn coin, Wat Nong Mai Luang, Phetchaburi, B.E. 2495, copper with gold plating, used condition, lovely, beautiful, worth hundreds of thousands, one of the five best coins of Phetchaburi, excellent Buddhist virtues, comes with a guarantee card. As for Luang Por's history, when he was young, he was a police officer. When he was 22 years old, he was ordained as a monk at Wat Tal Kong on July 9, B.E. 2464, with Phra Khru Yan Phetcharat (Plang) of Wat Sala Khuen as the preceptor, Phra Hathikan Phut (the 4th abbot of Wat Nong Mai Luang) as the preceptor, Phra Athikan Chan of Wat Map Pla Khao as the preceptor, and received the religious name "Thamiko". Luang Por Plearn was a monk who was strict in the Dhamma and moral conduct, had beautiful behavior, and was able to learn magic and sorcery quickly and powerfully, so many disciples came to study with him. For example, Luang Por Un of Wat Tal Kong, Luang Por Sai of Wat Pridaram, Luang Por Lae of Wat Phra Song. In 1952, the temple held a ceremony to gild the Buddha image and bury the boundary stone of the ordination hall. A large amount of money was donated at this event, and on this occasion, the temple committee created the first edition of his amulets. But in reality, he had already created amulets made from palm leaf powder before this, such as the famous ones like the Klong Takhian bell and Somdej. This edition of amulets was created in limited Luang Pho Plearn, Wat Nong Mai Luang

The original name was "Plearn Phramani". He was the son of Mr. Kaew and Mrs. Chan Phramani. He was born in the Year of the Dog, B.E. 2441, at Ban Rai Masang, Nong Krachet Subdistrict, Ban Lat District, Phetchaburi Province.
When he was young, he helped his family with their occupations, farming rice and palm sugar.
Later, when he was a young man, he entered the civil service as a non-commissioned police officer for a period of time and later retired.
At the age of 22, he was ordained as a monk at Wat Tal Kong on July 9, B.E. 2464. Phra Khru Yanaphetcharat (Plang) of Wat Sala Khuen was his preceptor, Phra Athikan Phut (the 4th abbot of Wat Nong Mai Luang) was his disciplinary preceptor and Phra Athikan Chan of Wat Map Pla Khao was his anusavana preceptor. He received the religious name Thamiko.
He remained in the monkhood with a firm commitment to Buddhism. He was in a beautiful moral conduct and performed his duties correctly. He studied the Buddhist scriptures until he passed the Naktham Tri exam in 1933. Later, the villagers invited him to stay at Wat Nong Mai Luang and he was appointed as the 6th abbot and the abbot of Nong Khanan Subdistrict in 1946. He was appointed as the Upachaya in 1947. He received the royal title of Phra Khru Nanthasilwat in 1968. He was promoted to the rank of Phra Khru Sanyabat, First Class, with the same royal title in 1979. Throughout his time under the saffron robe, he managed the administration, education, public utilities, and disseminated the Dharma to the public. He helped those in need of all classes and castes and continued the Buddhist religion with compassion. He was respected and believed in by fellow practitioners, disciples, and relatives and followers both locally and abroad. This caused Wat Nong Mai Luang to progress rapidly.
In terms of magic, he studied the incantations and various magical knowledge from many great monks. He was very successful and was praised and talked about as a monk with powerful magical knowledge. He had many disciples who came to study with him, such as Luang Pho Un of Wat Takong, Luang Pho Sai of Wat Pridaram, and Luang Pho Lae of Wat Phra Song.
Anuwat created amulets and gave them to his disciples to protect him and to bring money to restore and develop the temple. He used them to perform religious ceremonies to continue the religion for many generations. He created the Klong Takian amulet made from palm leaf powder and the first generation of Somdej amulets from 1942-1952.
All amulets have high Buddhist powers and have received a lot of faith from Buddhists and amulet collectors.
Since 1971, he started to get sick with chest disease, easily tired, and had difficulty breathing. He went to see a doctor at Phetchaburi Hospital (King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang) for treatment for 1 month. When he felt better, he returned to the temple. But the symptoms did not completely disappear, he still had some symptoms of illness because he was old.
In the later period, his health deteriorated, but he still had many disciples visiting him, including the blessing of amulets, which he accepted every time. His close disciples asked him to stop accepting some invitations, but he refused and said, “Luang Por loves all of you. I am worried that you will be harmed. I don’t mind dying, but I am worried about all of you. You have already received good things. You must take good care of them.”
Later in 1979, he became seriously ill and passed away on Monday, October 22, 1979, at the age of 82, numbers.

เหรียญหลวงพ่อเพลิน วัดหนองไม้เหลือง เพชรบุรี รุ่นแรก พ.ศ.2495

รหัสสินค้า: 000747

ราคา: 300,000.00 บาท

 

รายละเอียด:เหรียญหลวงพ่อเพลิน วัดหนองไม้เหลือง เพชรบุรี รุ่นแรก พ.ศ.2495 เนื้อทองแดงกะไหล่ทอง

สภาพใช้ กำลังน่ารัก สวยๆ เป็นแสน หนึ่งในเหรียญเบญจภาคีเมืองเพชร พุทธคุณยอดเยี่ยม มาพร้อมบัตรการันตีครับ
สำหรับประวัติหลวงพ่อนั้น สมัยหนุ่มๆท่านรับราชการเป็นพลตำรวจ เมื่ออายุ 22 ปี ครบบวชท่านจึงอุปสมบทที่วัดตาลกง เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ.2464 โดยมีพระครูญาณเพชรัตน์(ปลั่ง) วัดศาลาเขื่อน เป็นพระอุปัชฌาย์ พระฮธิการพุฒ (เจ้าอาวาสวัดหนองไม้เหลือง องค์ที่4) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอธิการชัน วัดมาบปลาเค้า เป็นอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายา "ธัมมิโก" หลวงพ่อเพลินท่านเป็นพระที่เคร่งครัดในพระธรรมวินัยและศิลปฏิบัติ มีศิลาจริยวัตรงดงาม มีความสามารถในการร่ำเรียนพระเวทมนต์วิทยาคม ได้รวดเร็วและเข้มขลัง จนมีศิษยานุศิษย์มาร่ำเรียนด้วยมากมาย เช่นหลวงพ่ออุ้น วัดตาลกง หลวงพ่อไสววัดปรีดาราม หลวงพ่อแลวัดพระทรง ปี พ.ศ.2495 ทางวัดได้จัดงานปิดทองฝังลูกนิมิตรพระอุโบสถ ในงานนี้ได้เงินบริจาคจำนวนมาก และในวาระนี้ ทางกรรมการวัดจึงได้จัดสร้างเหรียญรุ่นแรกของท่านขึ้น แต่จริงๆแล้วท่านสร้างพระผงจำพวกเนื้อผงใบลานก่อนหน้านี้แล้ว ที่มีชื่อก็พวกกริ่งคลองตะเคียนและสมเด็จ เหรียญรุ่นนี้สร้างจำ

หลวงพ่อเพลิน’ วัดหนองไม้เหลือง
นามเดิมคือ “เพลิน พราหมณี” เป็นบุตรของ นายแก้ว-นางจั่น พราหมณี เกิดเมื่อปีจอ พ.ศ.2441 ที่บ้านไร่มะซาง ต.หนองกระเจ็ด อ.บ้านลาด จ.เพชรบุรี
เมื่อครั้งเยาว์วัยช่วยครอบครัวประกอบสัมมาชีพทำนา ทำตาล
ต่อมาเมื่อเข้าสู่วัยหนุ่มได้เข้ารับราชการเป็นพลตำรวจชั้นประทวน อยู่ช่วงระยะเวลาหนึ่งและออกจากราชการในภายหลัง
กระทั่งอายุ 22 ปี เข้าพิธีอุปสมบท ณ วัดตาลกง เมื่อวันที่ 9 ก.ค.2464 มีพระครูญาณเพชรัตน์ (ปลั่ง) วัดศาลาเขื่อน เป็นพระอุปัชฌาย์, พระอธิการพุฒ (เจ้าอาวาสวัดหนองไม้เหลือง รูปที่ 4) เป็นพระกรรม วาจาจารย์ และพระอธิการชัน วัดมาบปลาเค้า เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายา ธัมมิโก
ดำรงอยู่ในสมณเพศด้วยความตั้งมั่นในบวรพุทธศาสนา อยู่ในศีลาจารวัตรปฏิบัติ ที่งดงาม และปฏิบัติสมณกิจอย่างถูกต้องศึกษาพระปริยัติธรรม จนกระทั่งสอบได้ นักธรรมตรี เมื่อปี พ.ศ.2476
ต่อมาชาวบ้านได้นิมนต์มาอยู่ที่วัดหนองไม้เหลือง และได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส รูปที่ 6 และเจ้าคณะตำบลหนองขนาน เมื่อ พ.ศ.2489 ได้รับการแต่งตั้งเป็นพระอุปัชฌาย์ ในปี พ.ศ.2490 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ที่พระครูนันทศีลวัตร พ.ศ.2511 เลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตร ชั้นเอกในราชทินนามเดิม พ.ศ.2522
ตลอดระยะเวลาที่อยู่ใต้ร่มกาสาวพัสตร์ บริหารงานทั้งในการปกครอง การศึกษาเล่าเรียน การสาธารณูปการและการเผยแผ่ สั่งสอนธรรมะแก่สาธุชน ช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ทุกชั้นวรรณะ สืบสานบวรพระพุทธศาสนาด้วยความเมตตากรุณา เป็นที่เคารพเลื่อมใสศรัทธาของสหธรรมิก ศิษยานุศิษย์ ญาติโยมทั้งในท้องถิ่นและต่างถิ่น เป็นเหตุให้วัดหนองไม้เหลืองมีความเจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็ว
ด้านวิทยาคม ร่ำเรียน อรรถคาถาศึกษาวิทยาคมต่างๆ จากพระเกจิคณาจารย์ผู้ทรงคุณหลายท่าน สำเร็จแตกฉานได้รับการยกย่อง และกล่าวขวัญว่าเป็นพระคณาจารย์ที่มีวิทยาคมเข้มขลัง มีศิษยานุศิษย์มาร่ำเรียนด้วยมากมาย เช่น หลวงพ่ออุ้น วัดตาลกง หลวงพ่อไสว วัดปรีดาราม หลวงพ่อแล วัดพระทรง
อนุวัตรจัดสร้างวัตถุมงคล มอบไว้ให้แก่ศิษยานุศิษย์ เพื่อคุ้มครองตนและเพื่อนำปัจจัยมาบูรณะและพัฒนาวัด เพื่อใช้ทำสังฆกรรมสืบทอดพระศาสนาหลากหลายรุ่น โดยจัดสร้างพระกริ่งคลองตะเคียนเนื้อผงใบลาน และสร้างพระสมเด็จ รุ่นแรก ตั้งแต่ปี พ.ศ.2485-2495
วัตถุมงคลทุกรุ่นมีพุทธคุณสูง ได้รับศรัทธาจากพุทธศาสนิกชนและนักนิยมสะสมพระเครื่องเป็นอย่างมาก
ตั้งแต่ พ.ศ.2514 เริ่มมีอาการอาพาธด้วยโรคทรวงอกเหนื่อยง่าย หายใจไม่ทั่วท้อง จึงเข้าให้แพทย์โรงพยาบาลเพชรบุรี (พระจอมเกล้า) ตรวจรักษาอยู่ 1 เดือน เมื่อรู้สึกปกติขึ้นจึงได้กลับวัด แต่อาการไม่ได้หายสนิทยังคงมีอาการป่วยอยู่บ้าง เนื่องจากเข้าสู่วัยชรา
ในช่วงท้ายๆ สุขภาพแย่ลง แต่ยังคงมีลูกศิษย์มาหามากมายรวมถึงการปลุกเสกวัตถุมงคลซึ่งท่านก็รับกิจนิมนต์ทุกครั้ง ลูกศิษย์ใกล้ชิดก็ขอให้ท่านงดรับกิจนิมนต์บ้าง แต่ท่านไม่ยอมและพูดว่า “หลวงพ่อรักพวกเอ็งทุกคน เป็นห่วงพวกเอ็งจะได้รับอันตราย ข้าตายไม่ว่า แต่พวกเอ็งทุกคน ข้าเป็นห่วง ได้ของดีไปกันแล้ว ต้องรักษากันไว้ให้ดีๆ”
ต่อมาในปี พ.ศ.2522 อาพาธหนัก และมรณภาพเมื่อวันจันทร์ที่ 22 ต.ค.2522 สิริอายุ 82 ปี พรรษา 60


--------- เพื่อนๆท่านใดสนใจโทรติดต่อด่วนครับ ---------
--------------- พร บางระจัน 093-3361995 -----------------

 
THAILAND AMULET CENTER |CHIANGMAI OFFICE
211/45 the City Villa, Soi Ladprao 126
Ladprao Rd, Kwang Prapla,Wang Thong Lang district
Bangkok 10310 Mobile :66-093-3361995     e-mail:amuletcenter@hotmail.com
พระเครื่องเมืองสยาม| โดย พร บางระจัน:
236/2 หมู่ 5 ,ถนน เชียงใหม่ ลำพูน ,ตำบลยางเนิ้ง,อำเภิสารภี จังหวัดเชียงใหม่ 50140
Tel: 66-053-963029,66-093-3361995  Fax : 66-53-963029
Mobile : 66-093-3361995   e-mail:amuletcenter@hotmail.com
Copyright © 2006 Thailand Amulet Center. Website Terms of Use   |   Privacy Statement Find us on Youtube Facebook