Phra Pidta Maha Ut, Ajarn Dit, Wat Pak Sara, Mueang Phatthalung Luang Pho Dit Tissaro, Wat Pak Sara, Phatthalung Province
พระปิดตามหาอุตม์
อาจารย์ดิษฐ์
วัดปากสระ
เมืองพัทลุง
Model :Phra Pidta Maha Ut, Ajarn Dit
Product :000773
Price :500,000.00
Detail:""Phor Than Pal" of "Sanskrit Taksila Khao Or",
Phra Pidta Maha Ut, Ajarn Dit, Wat Pak Sara, Mueang Phatthalung
Luang Pho Dit Tissaro, Wat Pak Sara, Phatthalung Province – Tuesday, September 7, 2021, commemorates the 57th anniversary of the death of “Luang Pho Dit Tissaro” or “Phra Khru Nekkhammaphimon”, Wat Pak Sara, Tambon Chai Buri, Amphoe Mueang, Phatthalung Province. He was a famous monk with magical knowledge in the South and had been revered by the people of Phatthalung for a long time.
His original name was Dit Nu Tan, born on February 21, 1877, which was Thursday, the 4th waning moon of the 3rd lunar month of the Year of the Ox, at Ban Don Ta Sang, Village 6, Tambon Prang Mu, Amphoe Mueang, Phatthalung Province.
When he was young, when he was old enough to study, his parents took him to stay with Phra Ajarn Rod, Wat Khuan Kraw, Mueang District, Phatthalung Province
With diligence and dedication in studying, he was determined to study until he could read and write, including reading prayers and chanting until he was proficient. He also read and studied ancient Thai and Khmer books.
When he was 21 years old, he was ordained as a monk on May 29, 1898, which was a Sunday, the 10th waning moon of the 7th month of the Year of the Dog, at the boundary of Wat Prang Mu Nai, Tambon Prang Mu, Mueang District, Phatthalung Province. Phra Khru Intharamoli, Wat Prang Mu Nai, Tambon Prang Mu, Mueang District, Phatthalung Province, was his preceptor, Phra Athikan Kaew, Wat Prang Mu Nai, was his kammavachachan, and Phra Athikan Kham, Wat Prang Mu Nok, Mueang District, Phatthalung Province, was his anusavanachan. He received the religious name Tissaro.
He stayed at Wat Khuan Kraw. Mueang Phatthalung District for a while. Later in 1903, villagers from Ban Pak Sa, Tambon Chai Buri, Mueang Phatthalung District invited him to stay at Wat Pak Sa. In 1904, he became the abbot of Wat Pak Sa.
In 1946, he became the abbot of Tambon Chai Buri, Mueang Phatthalung District.
In 1954, he was appointed as a monk with the title of Phra Khru Nekkhammaphimon.
He was a person with a cool personality, kindness, and aloofness. He did not accumulate wealth. Villagers who were in trouble or suffering from mental problems often came to him for help. He never objected and provided assistance to the best of his ability. In addition, he supported and helped children to receive education until many of them graduated and had stable careers.
It is said that he is a person with sacred speech. Whatever he says, it usually comes true. His sacred objects are available in many types, both amulets and amulets. Which Luang Por Dit started creating since the Indochinese war onwards, such as large and small Phra Sangkachai, large and small Phra Pidta, metal lotus petal, Phra Phirot ring, amulet, armband, yantra cloth and yantra shirt.
All sacred objects have powerful and outstanding Buddhist virtues that are accepted and desired, namely Phra Pidta and Phra Sangkachai, which are still popular to this day.
In addition to being a famous monk, he also developed and created prosperity for the temple and the community by building a chapel, a sala, a monk's hut, a dining hall, a kitchen and a public school.
In the later part of his life, he had symptoms of illness according to his age, until his symptoms began to worsen. The group of disciples took him to stay at Phatthalung Hospital, but he stayed for only 7 days before asking to return to the temple.
On September 7, 1964 at 12:30 midnight, he passed away peacefully..

พระปิดตามหาอุตม์ อาจารย์ดิษฐ์ วัดปากสระ เมืองพัทลุงปี พ.ศ. 2484
รายละเอียด: " พระปิดตามหาอุตม์ อาจารย์ดิษฐ์ วัดปากสระ เมืองพัทลุง
พระปิดตามหาอุตม์
อาจารย์ดิษฐ์
วัดปากสระ
เมืองพัทลุง
หลวงพ่อดิษฐ์
ติสสโร
วัดปากสระ จ.พัทลุง
–
วันอังคารที่
7 ก.ย.2564
น้อมรำลึกครบรอบ
57 ปี มรณกาล
“หลวงพ่อดิษฐ์
ติสสโร” หรือ
“พระครูเนกขัมมาภิมณฑ์”
วัดปากสระ ต.ชัยบุรี
อ.เมือง จ.พัทลุง
เป็นพระเกจิอาจารย์เรืองวิทยาคมที่มีชื่อเสียง
โด่งดังแห่งปักษ์ใต้
ได้รับความเลื่อมใสศรัทธาจากชาวเมืองพัทลุงมาอย่างยาวนาน
มีนามเดิมว่า
ดิษฐ์ หนูแทน
เกิดเมื่อ
วันที่ 21
ก.พ.2420
ตรงกับวันพฤหัสบดี
แรม 4 ค่ำ
เดือน 3
ปีฉลู
ที่บ้านดอนตาสังข์
หมู่ 6 ต.ปรางหมู่
อ.เมือง จ.พัทลุง
ในช่วงวัยเยาว์
เมื่อมีอายุสมควรได้รับการศึกษา
บิดามารดาพาไปฝากกับ
พระอาจารย์รอด
วัดควนกรวด
อ.เมือง จ.พัทลุง
ด้วยความขยันและเอาใจใส่ในการศึกษาเล่าเรียน
มุ่งมั่นศึกษาเล่าเรียนจนสามารถอ่านเขียน
รวมทั้งอ่านบทไหว้พระสวดมนต์จนมีความชำนาญ
พร้อมกับได้อ่านเรียนหนังสือโบราณไทย
ขอมต่างๆ
อีกด้วย
กระทั่งอายุครบ
21
ปีบริบูรณ์
เข้าพิธีอุปสมบท
เมื่อวันที่
29 พ.ค.2441
ตรงกับวันอาทิตย์ขึ้น
10 ค่ำ เดือน
7 ปีจอ
ที่พัทธสีมาวัดปรางหมู่ใน
ต.ปรางหมู่
อ.เมือง จ.พัทลุง
มีพระครูอินทรโมลี
วัดปรางหมู่ใน
ต.ปรางหมู่
อ.เมือง จ.พัทลุง
เป็นพระอุปัชฌาย์
พระอธิการแก้ว
วัดปรางหมู่ใน
เป็นพระกรรมวาจาจารย์
และพระอธิการขำ
วัดปรางหมู่นอก
อ.เมืองพัทลุง
เป็นพระอนุสาวนาจารย์
ได้รับฉายาว่า
ติสสโร
อยู่จำพรรษาที่วัดควนกรวด
อ.เมืองพัทลุง
ระยะหนึ่ง
ต่อมาในปี
พ.ศ.2446
มีชาวบ้านจากบ้านปากสระ
ต.ชัยบุรี อ.เมืองพัทลุง
ได้นิมนต์ให้ไปอยู่จำพรรษาที่วัดปากสระ
พ.ศ.2447
ดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสวัดปากสระ
พ.ศ.2489
ดำรงตำแหน่งเจ้าคณะตำบลชัยบุรี
อ.เมืองพัทลุง
พ.ศ.2497
ได้รับแต่งตั้งเป็นพระครูสัญญาบัตร
ในราชทินนาม
พระครูเนกขัมมาภิมณฑ์
เป็นผู้ที่มีอุปนิสัยเยือกเย็น
เมตตาปรานี
ถือสันโดษ
ไม่สะสมทรัพย์สินสมบัติ
ชาวบ้านที่ตกทุกข์ได้ยากหรือได้รับความเดือดร้อนทางจิตใจ
มักจะมาพึ่งพาขอความช่วยเหลือ
ซึ่งท่านก็ไม่เคยขัดข้องและให้การช่วยเหลืออย่างเต็มความสามารถ
นอกจากนี้ท่านยังให้การสนับสนุนส่งเสริมช่วยเหลือเด็ก
ให้ได้รับการศึกษาเล่าเรียน
จนเด็กๆ
หลายคนสำเร็จการศึกษา
ประกอบอาชีพการงานที่มั่นคง
กล่าวกันว่า
เป็นผู้มีวาจาสิทธิ์
พูดสิ่งใดมักเป็นไปตามนั้น
สำหรับวัตถุมงคลของท่านมีด้วยกันหลากหลายแบบ
ทั้งเครื่องรางและพระเครื่อง
ซึ่งหลวงพ่อดิษฐ์ได้เริ่มสร้างขึ้นมาตั้งแต่ช่วงสงครามอินโดจีนเป็นต้นมา
อาทิ
พระสังกัจจายน์พิมพ์ใหญ่-พิมพ์เล็ก
พระปิดตา
พิมพ์ใหญ่-พิมพ์เล็ก
พระกลีบบัวเนื้อโลหะ
แหวนพิรอด
ลูกอม
ปลอกแขน
ผ้ายันต์และเสื้อยันต์
วัตถุมงคลล้วนแต่มีพุทธคุณเข้มขลัง
โดดเด่น
ที่ได้รับการยอมรับและเป็นที่ปรารถนา
คือ
พระปิดตาและพระสังกัจจายน์
ซึ่งยังเป็นที่นิยมจนมาถึงปัจจุบัน
นอกจากเป็นพระเกจิชื่อดังแล้ว
ยังพัฒนาสร้างความเจริญรุ่งเรืองให้กับวัดและชุมชนมากมาย
ด้วยการก่อสร้างอุโบสถ
ศาลาการเปรียญ
กุฏิ หอฉัน
โรงครัว
และโรงเรียนประชาบาล
1 หลัง
ในช่วงบั้นปลายชีวิต
มีอาการอาพาธตามสังขารที่ร่วงโรยตามวัย
จนกระทั่งอาการเริ่มทรุดหนัก
คณะศิษยานุศิษย์จึงได้นำไปพักรักษาตัวที่โรงพยาบาลพัทลุง
แต่อยู่ได้เพียง
7
วันท่านได้ขอกลับวัด
วันที่ 7
ก.ย.2507
เวลา 24.30
น.
มรณภาพด้วยอาการสงบ
---------
เพื่อนๆท่านใดสนใจโทรติดต่อด่วนครับ
---------
---------------
พร บางระจัน
093-3361995
-----------------
|